Page 79 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 79

ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี

                         SARABURI  Provincial  Office





                11. แผนบริหำรควำมเสี่ยง/แผนส ำรองฉุกเฉิน (Business Continuity Plan-BCP)
                      ของส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี



                 แผนงำน/โครงกำร  ควำมเสี่ยงที่ส ำคัญ          แนวทำงที่จะใช้ในกำรลด     แผนบริหำรควำมเสี่ยง/
                                     (Risk Analysis)          หรือบรรเทำควำมเสี่ยง      มำตรกำรจัดกำรควำมเสี่ยง
                 ภัยธรรมชาติ         ผลผลิตการเกษตรลูกค้า         ยอมรับความเสี่ยง      1.จัดประชุมซักซ้อมให้ความรู้
                                     ได้รับความเสียหาย                                  เรื่องการประกันภัยพืชผลกับ

                                                                                        สนจ. และสาขา
                                                                                        2.สาขาจัดท าแผนส่งเสริมให้
                                                                                        ลูกค้าจัดท าการประกันภัย

                                                                                        พืชผล
                                                                                        3.ด าเนินการเรื่องการ
                                                                                        ประกันภัยพืชผลให้กับลูกค้า
                                                                                        4.ติดตาม/รายงานผลการ
                                                                                        ด าเนินงาน


                 อัตราส่วน           1. ราคาผลผลิตยังตกต่ า       ควบคุมความเสี่ยง      1.จัดโครงการอบรมเพิ่ม
                 NPL/Loan            ต่อเนื่อง                                          ประสิทธิภาพงานด้านบริหาร

                 ไม่เป็นไปตาม        2. ลูกค้าเลิกประกอบ                                จัดการหนี้
                 เป้าหมาย            อาชีพการเกษตรรายได้                                2.ซักซ้อมการปฏิบัติงานเป็น
                                     ลดลง                                               ประจ าและต่อเนื่อง
                                     3. คู่แข่งบริการด้าน                               3.สนจ./สาขา คัดแยกกลุ่ม

                                     สินเชื่อรวดเร็วกว่า                                ลูกหนี้ค้างช าระ เพื่อบริหาร
                                     4. การเปลี่ยนแปลง                                  จัดการ
                                     วัฒนธรรมการปฏิบัติงาน                              4.สาขาติดตามลูกหนี้ค้าง
                                     ของพนักงาน                                         ช าระและพิจารณาการใช้

                                                                                        เครื่องมือแก๎ไขหนี้ให้ครบ
                                                                                        ถ้วนทุกราย
                                                                                        5.วางแผนน าเสนอลูกหนี้ค้าง
                                                                                        ช าระให้คณะกรรมการแต่ละ

                                                                                        ระดับตลอดทั้งปีบัญชี
                                                                                        6.คัดเลือกลูกหนี้ค้างช าระที่
                                                                                        สาขา/สนจ. และ ฝกล. ไม่

                                                                                        สามารถแก้ไขได้เสนอธนาคาร
                                                                                        พิจารณา




                                                                                                                 70
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84