Page 113 - โครงการ เรื่อง การบัญชีการเงิน
P. 113
102
ราคาตามความเดิมยังคงได้รับสิทธิหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา หรือมีสิทธินำมูลค่า
ึ
ต้นทุนของทรัพย์สินที่คงเหลือมาหักค่าสกหรอและค่าเสื่อมราคาได้ตามเดิม)
ภายในเวลาสามสิบวันนับแต่วันที่(ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับ
ที่ 51))
มาตรา 5 ทรัพย์สินประเภทรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกินสิบคน หรือรถยนต์นั่งให้
หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนที่ไม่เกินหนึ่งล้านบาท
(แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 200) 2531))
(ดูพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 200)
มาตรา 6 กรณีดีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้นตามมาตรา 65 ทวิ (3) แห่งประมวล
รัษฎากรและราคาที่ดีเพิ่มขึ้นนั้นด้องนำมารวมคำนวณกำไรสุทธิโดยบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน
นิติบุคคลนั้นไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามกฎหมายใดๆ ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา
ได้จากราคาส่วนที่ดีเพิ่มขึ้นของทรัพย์สินนั้นนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่ดีราคาเพิ่มขึ้น
(ยกเลิกโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 248) พ.ศ. 2534 ใช้บังคับสำหรับเงินได้ของ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งรอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม
2535 เป็นต้นไปแต่ให้ยังคงใช้ได้ต่อไปสำหรับการหักค่าสึกหรอตามความในมาตรา 65 ทวิ
(3) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งถูกยกเลิกโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร
(ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2534)
มาตรา 7 ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการเช่าซื้อ หรือโดยการซื้อขายเงินผ่อน มูลค่า
ต้นทุนของทรัพย์สินนั้นให้ถือตามราคาที่พึงต้องชำระทั้งหมด แต่ค่าสึกหรอและค่าเสื่อม
่
ราคาที่จะนำมาหักในรอบระยะเวลาบัญชี จะต้องไม่เกินค่าเชาซื้อหรือราคาที่จะต้องผ่อน
ชำระในรอบระยะเวลาบัญชีนั้นและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินที่ตีราคาเพิ่มขึ้น
มาตรา 8 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาสำหรบทรัพย์สินไม่ว่าในกรณีใด จะ
ั
หักจนหมดมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้