Page 35 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 35

๒๖




                          ๔.  ฟลิปปนส   โดย นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีตางประเทศ)
                          ๕.  อินโดนีเซีย  โดย นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีตางประเทศ)

                          ในเวลาตอมาประเทศตางๆ เขารวมเปนสมาชิกเพิ่มเติม คือ บรูไนดารุสซาลาม (๘ ม.ค.
              ๒๕๒๗), สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (๒๘ ก.ค. ๒๕๓๘), สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

              และสหภาพมา (๒๓ ก.ค. ๒๕๔๐), ราชอาณาจักรกัมพูชา (๓ เม.ย. ๒๕๔๒) ตามลําดับ ทําใหปจจุบัน
              มีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด ๑๐ ประเทศ


































                                 ÀÒ¾¨Ò¡ http://www.wangitok.com/khwam-ru-xaseiyn



                          ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ËÅÑ¡
                          ปฏิญญากรุงเทพฯ ไดระบุวัตถุประสงคสําคัญ ๗ ประการ ของการจัดตั้งอาเซียน ไดแก

                          ๑.  สงเสริมความรวมมือและความชวยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
              เทคโนโลยี วิทยาศาสตร และการบริการ

                          ๒.  สงเสริมสันติภาพและความมั่นคงสวนภูมิภาค
                          ๓.  เสริมสรางความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจ พัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค

                          ๔.  สงเสริมใหประชาชนในอาเซียนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ดี
                          ๕.  ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในรูปของการฝกอบรมและการวิจัยและสงเสริม

              การศึกษาดานเอเชียตะวันออกเฉียงใต
                          ๖.  เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการคา ตลอดจน

              การปรับปรุงการขนสงและการคมนาคม
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40