Page 34 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 34
๒๕
º··Õè ò
¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞáÅС®ºÑμâͧ»ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹
ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤
๑. เพื่อใหผูเรียนรูความเปนมาและความสําคัญของประชาคมอาเซียน
๒. เพื่อใหผูเรียนรูวัตถุประสงคหลักของการกอตั้งประชาคมอาเซียน
๓. เพื่อใหผูเรียนรูวัตถุประสงคหลักของกฎบัตรอาเซียน และรูความสําคัญของกฎบัตร
อาเซียนตอประเทศไทย
º·นํา
ประชาคมอาเซียนกอตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคจากความตองการสภาพแวดลอมภายนอก
ที่มั่นคง (เพื่อที่ผูปกครองของประเทศสมาชิกจะสามารถมุงความสนใจไปที่การสรางประเทศ)
ความกลัวตอการแพรขยายของลัทธิคอมมิวนิสต ความศรัทธาหรือความเชื่อถือตอมหาอํานาจภายนอก
เสื่อมถอยลงในชวงพุทธทศวรรษ ๒๕๐๐ รวมไปถึงความตองการในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
การจัดตั้งกลุมอาเซียนมีวัตถุประสงคตางกับการจัดตั้งสหภาพยุโรป เนื่องจากกลุมอาเซียนถูกสรางขึ้น
เพื่อสนับสนุนความเปนชาตินิยมและเพื่อสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันนํามา
ซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อ
การคาระหวางประเทศในโลกมีแนวโนมกีดกันการคารุนแรงขึ้น ทําใหอาเซียนไดหันมามุงเนนกระชับ
และขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจการคาระหวางกันมากขึ้น
¤ÇÒÁ໚¹ÁÒáÅФÇÒÁสํา¤Ñޢͧ»ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹
อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast
Asian Nations หรือ ASEAN) กอตั้งขึ้นโดยพิธีลงนาม “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration)
เพื่อตั้งสมาคมความรวมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม
การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุมประเทศสมาชิก และการธํารงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในพื้นที่
และเปนการเปดโอกาสใหคลายขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิกอยางสันติของระดับภูมิภาคของประเทศ
ตางๆ ในเอเชีย เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ โดยมีผูรวมกอตั้ง ๕ ประเทศ ดังตอไปนี้
๑. ไทย โดย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร (รัฐมนตรีตางประเทศ)
๒. สิงคโปร โดย นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีตางประเทศ)
๓. มาเลเซีย โดย ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
กลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแหงชาติ)