Page 29 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 29

๒๐



                          ÅѡɳÐáÅÐâ¤Ã§ÊÌҧ¢Í§Êѧ¤ÁàÁ×ͧä·Â
                          ๑.  พึ่งพาอาศัยกัน สังคมเมืองจําเปนตองพึ่งพาอาศัยกันทางดานเศรษฐกิจ สังคม

              ทุกสิ่งทุกอยางดําเนินไปดวยกันเหมือนเครื่องจักร หากสิ่งใดหยุดชะงักสังคมเมืองจะประสบ
              ความยุงยากทันที
                          ๒.  มีการรวมตัวกันอยางหลวม ๆ สมาชิกของสังคมเมืองมีแบบแผน วิถีดําเนินชีวิตใน

              แตละกลุมแตกตางกัน ทั้งดานความคิด ความเชื่อ ศาสนา และประสบการณ เพราะสมาชิกมาจาก
              แหลงตาง ๆ กัน
                          ๓.  มีลักษณะความแตกตางทางเศรษฐกิจสูง คือ สังคมเมือง มีทั้งนายจาง ลูกจาง มีคน

              ที่ประกอบอาชีพที่หลากหลาย เชน พอคา ขาราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ และอื่น ๆ อีกมากมาย
              ทําใหมีระดับความแตกตางของสมาชิกทางเศรษฐกิจสูง
                          ๔.  การติดตอสัมพันธกันมีลักษณะแบบทุติยภูมิ ทั้งนี้เนื่องจากผูคนในสังคมเมืองมีมาก

              จึงมีการติดตอกันตามสถานภาพ มากกวาการติดตอกันเปนสวนตัว หรือแบบปฐมภูมิ
                          ๕.  การรวมกลุมเปนองคกรเปนไปในรูปแบบทางการ คือ เปนการคํานึงถึงผลประโยชน
              ของตนเองหรือของกลุมตนเองมากที่สุด

                          ๖.  มีการแขงขันกันสูง คือ สังคมเมือง ผูคนจะมีการแขงขันกันสูง เปนการแขงขัน
              เพื่อชัยชนะคูแขง  หรือเพื่อความอยูรอดในสังคม  คนในสังคมเมืองจึงเปนโรคประสาทมาก

              เมื่อเปรียบเทียบกับชาวชนบท


              Êѧ¤Áª¹º·¢Í§ä·Â
                          มีการรวมตัวกันอยูเปนชุมชนเล็ก ๆ เปนการรวมตัวกันเปนหมูบาน ตําบล กระจัดกระจาย

              ไปทั่วประเทศ ประชาชนสวนใหญของสังคมไทยอาศัยอยูในชนบท
                          ÅѡɳÐáÅÐâ¤Ã§ÊÌҧ¢Í§Êѧ¤Áª¹º·¢Í§ä·Â

                          ๑.  มีการรวมตัวกันอยางเหนียวแนน ทั้งนี้เพราะสังคมชนบทไทยมีความคลายคลึงกัน
              ของแบบแผนสังคมและแบบแผนของวัฒนธรรมขั้นพื้นฐาน สภาพความเปนอยูมีความคลายคลึงกัน
              เปนอันมาก การรวมตัวของสังคมชนบทจึงเปนการรวมตัวอยางเหนียวแนน
                          ๒.  มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมไมแตกตางกันมาก ชาวชนบทสวนใหญประกอบ

              อาชีพทางเกษตรกรรม แบบแผนของสังคมเปนแบบแผนสังคมเกษตร พื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม
              จึงไมแตกตางกันมาก

                          ๓.  พึ่งธรรมชาติสิ่งแวดลอมเปนสวนใหญ ชีวิตของชาวชนบทผูกพันอยูกับธรรมชาติ
              ทั้งอาชีพและความเปนอยู ความทุกขมีผลจากภัยธรรมชาติ คือ ความแหงแลง นํ้าทวม และความหนาวเย็น
              หากปใดไมมีภัยธรรมชาติประกอบอาชีพไดผลดี จะมีความสุข
                          ๔.  การรวมกลุมของคนชนบทอยูในวงจํากัด และมีลักษณะไมเปนทางการ สังคมชนบท

              จะรูจักคุนเคยกันดี มีการติดตอสัมพันธกันเปนสวนตัวในลักษณะกลุมปฐมภูมิมากกวาสัมพันธกันใน
              ลักษณะกลุมทุติยภูมิ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34