Page 25 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 25

๑๖




              ทางสังคมและกาวขึ้นสูชนชั้นขุนนางดวยการใหผลประโยชนแกเจานายและขุนนางไทยออกไปคาขาย
              ยังประเทศจีน ดังจะเห็นไดจากการที่หัวหนาชาวจีนไดเขาสูชนชั้นขุนนางโดยการเปนเจาภาษีนายอากร

              มียศหรือบรรดาศักดิ์ เปนพระ ขุน หมื่น มีศักดินา ๔๐๐ ขึ้นไป พอคาหรือเจาภาษี ชาวจีนในหัวเมือง
              หลายคนไดรับแตงตั้งใหเปนเจาเมือง คนเหลานี้มีฐานะมั่งคั่ง บางครอบครัวมีความสัมพันธ

              โดยการแตงงานกับชนชั้นเจานาย ขุนนาง หรือถวายตัวตอพระมหากษัตริย ชาวจีนประเภทที่สอง
              คือ พวกที่รับจางเปนกรรมกรเพื่อทํางานสาธารณูปโภคตาง ๆ แทนแรงงานไพร ทํางานในเหมือง

              แรดีบุก ชางปูน ชางตอเรือ กรรมการในโรงงานนํ้าตาลทราย ทําไรออย พริกไทย ยาสูบ และคาขายแถบ
              ลุมแมนํ้าแมกลอง หรือหัวเมืองชายทะเลตะวันออกและภาคใตของไทย

                          พอคาชาวจีนไดรับอภิสิทธิ์หลายประการ เชน เดินทางและตั้งถิ่นฐานไดทั่วราชอาณาจักร
              ไมตองเกณฑแรงงานแตเสียเงินคาผูกปขอมือเปนเงิน ๑.๕๐ บาทตอทุกสามป ตอมาในสมัยพระบาท

              สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัฐบาลประกาศเลิกวิธีผูกปขอมือชาวจีนมาเปนการเก็บเงินคา
              ราชการปละ ๖ บาท การที่การคาของไทยทั้งการคาตางประเทศและการคาภายในประเทศชวงสมัย

              กรุงรัตนโกสินทรตอนตน ดําเนินการโดยพระมหากษัตริย เจานาย ขุนนาง และพอคาจีน พอคา

              เจาภาษีนายอากรชาวจีน มีฐานะมั่งคั่งเหลานี้ไดเขามาอยูในสังคมชั้นเดียวกับชนชั้นสูงของไทยไดอาศัย
              ระบบศักดินาและการอุปถัมภของชนชั้นสูงเหลานี้ดําเนินธุรกิจจนกลายเปนผูมีฐานะรํ่ารวย กลายเปน
              คานิยมที่เห็นความสําคัญของทรัพยสมบัติหรือฐานะทางเศรษฐกิจควบคูไปกับคานิยมการสะสมไพรบริวาร

                          สภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยในชวงตนจึงเปนลักษณะแบบเลี้ยงตัวเอง พลเมืองมี

              อาชีพเกษตรเปนหลัก ผลผลิตสําคัญคือ ขาว ฝาย ออย ยาสูบ เปนตน รัฐบาลมีรายไดหลายทาง เชน
              จังกอบ อากร ฤชา สวย และรายไดจากการคาตางประเทศ การคาสําเภา และการคาแบบผูกขาด ภาษี

              สวนใหญรัฐบาลมอบใหพอคาจีนผูกขาดเก็บภาษีแทนรัฐบาล และจะมีการเดินสวนใหมทุกครั้งที่มีการ
              เปลี่ยนรัชกาลเพื่อวัดที่ดินแลวเก็บเงินตามโฉนดนั้น ความสัมพันธกับตางชาติอันดับแรกนั้นคือชาติจีน

              โดยมีการติดตอคาขายมาตั้งแตครั้งสมัยสุโขทัยแลวโดยทางเรือสําเภา พอมาในสมัยรัตนโกสินทรชาวจีน
              ก็ไดอพยพมาตั้งถิ่นฐานที่ประเทศไทยมากขึ้นเรื่อยๆ และสวนใหญการคาขายมักจะเปนไปในลักษณะ

              เกื้อกูลกัน สวนชาติตะวันตกที่เขามามีบทบาทคือ โปรตุเกส เพราะไดมีการสงสาสนในการขอใหเรือ
              ของตนเขามาคาขายไดอยางสะดวก และทางไทยกําลังตองการซื้อปนมาใชรักษาพระนคร อยางไรก็ดี

              การติดตอกับโปรตุเกสทําใหไทยไดเรียนรูวิทยาการตาง ๆ มากมาย เชน การทําปนไฟ ขนม ตํารายา
              เปนตน ซึ่งผิดกับการเขามาของชาวอังกฤษที่เริ่มในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย

              โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ การเมืองและการคา โดยมีครอวเฟรด เปนผูที่เขาเจรจาทางการคากับไทย
              คนแรกๆ โดยไทยยังคงไดผลประโยชนอยูบาง แตตอมาเฮนรี เบอรนี ซึ่งเปนทูตคนที่สองไดเขามาได

              ตกลงทําสัญญาคาขายใหอังกฤษเขามาทําการคาไดโดยเสรี สวนอเมริกานั้นก็เขามาในประเทศไทย
              ดวยเชนกันและก็ไดใหความรูเกี่ยวกับการศึกษาไวมาก แตอยางไรก็ดีจุดประสงคหลักคือการไดเขามา

              คาขายในประเทศไทยไดอยางเสรี
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30