Page 21 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 21

๑๒




                          กอนหนานั้นสองวัน คือ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
              ผูบัญชาการทหารบก ประกาศใชกฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักรตั้งแตเวลา ๓.๐๐ น. กองทัพบก

              ตั้งกองอํานวยการรักษาความสงบเรียบรอย (กอ.รส.) และใหยกเลิกศูนยอํานวยการรักษาความสงบ
              เรียบรอย (ศอ.รส.) ที่รัฐบาลยิ่งลักษณตั้งขึ้น กอ.รส. ใชวิธีการปดควบคุมสื่อ ตรวจพิจารณาเนื้อหาบน

              อินเทอรเน็ต และจัดประชุมเพื่อหาทางออกวิกฤตการณการเมืองของประเทศ แตการประชุมไมเปนผล
              จึงเปนขออางรัฐประหารครั้งนี้

                          หลังรัฐประหาร มีประกาศใหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
              สิ้นสุดลงยกเวนหมวด ๒ คณะรัฐมนตรีรักษาการหมดอํานาจ ตลอดจนใหยุบวุฒิสภา จนเมื่อวันที่

              ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช
              ๒๕๕๗ ซึ่งใหมีสภานิติบัญญัติแหงชาติทําหนาที่แทนสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา

              วันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ สภาฯ มีมติเลือกพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา เปนนายกรัฐมนตรี
                          หลายประเทศประณามรัฐประหารครั้งนี้ รวมทั้งมีการกดดันตาง ๆ เชน ลดกิจกรรมทาง

              ทหาร และลดความสัมพันธระหวางประเทศ แตคนไทยจํานวนหนึ่งแสดงความยินดี โดยมองวาเปน

              ทางออกของวิกฤตการณการเมือง แตก็มีคนไทยอีกจํานวนหนึ่งที่ไมเห็นดวย เนื่องจากไมเปนไปตาม
              วิถีประชาธิปไตย (ดูรายชื่อนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยในภาคผนวก)



              ÇÔÇѲ¹Ò¡ÒÃÃкºàÈÃɰ¡Ô¨ä·Â

                          ประเทศไทยมีวิวัฒนาการทางดานเศรษฐกิจจากการเริ่มตนจากโครงสรางเกษตรกรรม
              มาเปนโครงสรางอุตสาหกรรมในระยะ ๒๐๐ ปที่ผานมา การเปดประเทศของประเทศไทย และลัทธิ

              ลาอาณานิคมของประเทศตะวันตก ไดเขามามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง สงผลกระทบโดยตรงตอ
              ระบบเศรษฐกิจของประเทศอยางใหญหลวง ถือวาเปนจุดเปลี่ยนของระบบเศรษฐกิจของไทยในระดับ

              มหภาค เพราะระบบเศรษฐกิจของไทยถูกผูกไวกับทุนนิยมโลก ซึ่งบทเรียนนี้จะทําการแบงหวงเวลาของ
              ระบบเศรษฐกิจไทยออกเปน ๓ ชวงดวยกัน  ไดแก ชวงกอนสนธิสัญญาเบาริง  ชวงสนธิสัญญาเบาริง

              ถึงยุคสงครามโลกครั้งที่ ๒ และชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ถึงปจจุบัน
                          ๑.  ชวงกอนสนธิสัญญาเบาริง  ป พ.ศ. ๒๓๙๘

                             ระบบเศรษฐกิจของไทยจะมีลักษณะที่เรียกวา เศรษฐกิจระบบธรรมชาติ วัตถุประสงค
              ของการผลิตนั้น เพื่อการเลี้ยงชีพของตัวเอง รากฐานของเศรษฐกิจโดยรวมเปนเกษตรกรรมและหัตถกรรม

              เชน การทําไรทํานา ทอผา ทําเครื่องมือเกษตรกรรม ผลิตเครื่องปนดินเผา การประมง จะเห็นไดวา
              การผลิตตางๆ เหลานี้ ทําเพื่อการยังชีพตนเอง ผลิตเพื่อใชสอยกันเองภายในชุมชนของตน อาจจะ

              มีสวนเกินไวจายเปนสวยอากรบาง หรือผลิตไวเพื่อแลกเปลี่ยนหรือขายกันในขอบเขตที่จํากัด บทบาท
              ในการกําหนดใชทรัพยากรอยูที่รัฐบาล ซึ่งโดยมากดําเนินไปตามพันธะทางศาสนา การผูกขาดการคา

              พวกสินคาสําคัญๆ ไวใตการควบคุมของพระคลังสินคา รัฐบาลจะทําหนาที่กําหนดราคาสินคา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26