Page 18 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 18

๙




                 วันเดียวกันนั้นเริ่มมีการออกแถลงการณเรียกรองใหนายกรัฐมนตรีลาออกจากตําแหนง เพื่อรับผิดชอบ
                 ตอการเสียชีวิตของประชาชน ขณะที่สื่อของรัฐบาลยังคงรายงานวาไมมีการสูญเสียชีวิตของประชาชน

                 แตสํานักขาวตางประเทศไดรายงานภาพของการสลายการชุมนุม และการทํารายผูชุมนุม  หนังสือพิมพ
                 ในประเทศไทยบางฉบับเริ่มตีพิมพภาพการสลายการชุมนุม ขณะที่รัฐบาลไดประกาศใหมีการตรวจ
                 และควบคุมการเผยแพรขาวสารทางสื่อมวลชนเอกชนในประเทศซึ่งการชุมนุมในครั้งนี้ ดวยผูชุมนุม

                 สวนใหญเปนชนชั้นกลางในเขตตัวเมือง เปนนักธุรกิจหรือบุคคลวัยทํางาน ซึ่งแตกตางจากเหตุการณ
                 ๑๔ ตุลา ในอดีต ซึ่งผูชุมนุมสวนใหญเปนนิสิต นักศึกษา ประกอบกับเทคโนโลยีโทรศัพทมือถือ

                 ที่เพิ่งเขามาในประเทศไทย และใชเปนเครื่องมือสําคัญในการติดตอสื่อสารในครั้งนี้
                             เหตุการณพฤษภาทมิฬนี้จึงไดชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “ม็อบมือถือ” เหตุการณครั้งนี้สิ้นสุด

                 ลงไดดวยพระราชดํารัสของพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ซึ่งหลังจากนั้นประมาณ ๑ สัปดาห
                 พลเอก สุจินดา คราประยูร จึงกราบถวายบังคมลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี



                 พระราชดํารัสมีขอความวา
                 “... ฉะนั้น ก็ขอใหทาน โดยเฉพาะสองทาน พลเอก สุจินดา และพลตรี จําลอง ชวยกันคิด คือหันหนา

                 เขาหากัน ไมใชเผชิญหนากัน เพราะวาเปนประเทศของเรา ไมใชประเทศของหนึ่งคน สองคน เปน
                 ประเทศของทุกคน ตองเขาหากัน ไมเผชิญหนากัน แกปญหา เพราะวาอันตรายมีอยูเวลาคนเราเกิด

                 ความบาเลือด ปฏิบัติการรุนแรงตอกัน มันลืมตัว ลงทายก็ไมรูวาตีกันเพราะอะไร แลวก็จะแกปญหา
                 อะไร เพียงแตวา จะตองเอาชนะ แลวก็ใครจะชนะ ไมมีทางชนะ อันตรายทั้งนั้น มีแตแพ คือตางคน

                 ตางแพ ผูที่เผชิญหนาก็แพ แลวก็ที่แพที่สุดก็คือประเทศชาติ ประชาชน จะเปนประชาชนทั้งประเทศ
                 ไมใชประชาชนเฉพาะในกรุงเทพมหานคร ถาสมมติวา กรุงเทพมหานครเสียหาย ประเทศก็เสียหายไป

                 ทั้งหมด แลวก็จะมีประโยชนอะไร ที่จะทะนงตัววาชนะเวลาอยูบนกองสิ่งปรักหักพัง ...”


                 ÃÑ°»ÃÐËÒà òõôù

                             วิกฤตการณการเมืองไทย พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๓ เปนความขัดแยงระหวางกลุมการเมือง
                 ซึ่งตอตาน และสนับสนุนทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี โดยวิกฤตการณดังกลาวทําใหเกิดขอสงสัย

                 เกี่ยวกับเสรีภาพสื่อ เสถียรภาพทางการเมืองในไทย ทั้งยังสะทอนภาพความไมเสมอภาค และความ
                 แตกแยกระหวางชาวเมืองและชาวชนบท การละเมิดพระราชอํานาจ การหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

                 และผลประโยชนทับซอน ซึ่งวิกฤตการณดังกลาวไดบั่นทอนเสถียรภาพทางการเมืองตั้งแตป ๒๕๔๘
                             ในการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีสมัยที่สองของ พ.ต.ท.ทักษิณ ไดถูกนักวิชาการ

                 บางกลุมออกมาวิพากษวิจารณวาอยูภายใต “ระบอบทักษิณ” คือ ไมใสใจตอเจตนารมณประชาธิปไตย
                 ของเกี่ยวกับผลประโยชนทางเศรษฐกิจ และการฉอราษฎรบังหลวง นอกจากนี้ยังไมสามารถควบคุม

                 ความรุนแรงที่เกิดขึ้น จนกลายเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งจากการกวาดลางขบวนการ
                 คายาเสพติด ซึ่งมีผูเสียชีวิตมากกวา ๑,๐๐๐ คน ทั้งนี้ ประชาชนบางกลุมไดใชคําวา “ระบอบทักษิณ”
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23