Page 20 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 20

๑๑



                 ÃѰ»ÃÐËÒà òõõ÷

                             ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไทยเปนการทั่วไป พ.ศ. ๒๕๕๔ ยิ่งลักษณ ชินวัตร

                 และพรรคเพื่อไทยชนะเลือกตั้ง และตั้งรัฐบาลใหมโดยมียิ่งลักษณเปนนายกรัฐมนตรี มีการประทวง
                 ตอตานการเสนอกฎหมายรางพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ นําโดย สุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการ
                 พรรคประชาธิปตย เริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ภายหลังสุเทพตั้งคณะกรรมการประชาชน

                 เพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยใหเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณ อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
                 (กปปส.) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตั้ง “สภาประชาชน” ที่ไมไดมาจากการเลือกตั้งเพื่อดูแลการปฏิรูป

                 การเมือง กลุมนิยมรัฐบาล รวมทั้ง แนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช.) จัดชุมนุม
                 เชนกัน มีความรุนแรงเกิดขึ้นเปนครั้งคราว เปนเหตุใหมีผูเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมาก

                             ในเดือนธันวาคม ๒๕๕๖ ยิ่งลักษณยุบสภาผูแทนราษฎรและกําหนดการเลือกตั้งสมาชิก
                 สภาผูแทนราษฎรไทย เปนการทั่วไปในวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ การเลือกตั้งไมเสร็จสมบูรณ

                 ในวันนั้นเพราะถูกผูประทวงตอตานรัฐบาล ขัดขวางศาลรัฐธรรมนูญเพิกถอนการเลือกตั้งในวันที่ ๒๑
                 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ในวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาคํารองของ ไพบูลย
                 นิติตะวัน สมาชิกวุฒิสภา และมีคําวินิจฉัยเปนเอกฉันทใหยิ่งลักษณและรัฐมนตรีที่มีมติยายขาราชการ

                 ระดับสูงซึ่งเปนที่โตเถียงในป ๒๕๕๔ รัฐมนตรีที่เหลืออยูเลือก นิวัฒนธํารง บุญทรงไพศาล รองนายก
                 รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย เปนผูปฏิบัติราชการนายกรัฐมนตรีแทนยิ่งลักษณ

                 แตการประทวงยังดําเนินตอ
                             สุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการ กปปส. เปดเผยวา ตนพูดคุยกับพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา

                 ใหถอนรากถอนโคนอิทธิพลของทักษิณ และพันธมิตร นับแตการชุมนุมทางการเมืองในป ๒๕๕๓
                 เขากลาววา ไดติดตอเปนประจําผานแอพไลน กอนรัฐประหาร พลเอกประยุทธติดตอเขาวา “คุณสุเทพ

                 คุณกับมวลมหาประชาชน กปปส.เหนื่อยเกินไปแลว ตอไป ขอเปนหนาที่กองทัพบกที่จะทําภารกิจนี้
                 แทน” และกองทัพไดรับขอเสนอของ กปปส. หลายอยาง เชน มาตรการชวยเหลือเกษตรกร ดานโฆษก
                 คสช. ออกมาปฏิเสธขาวดังกลาว แหลงขาววา พลเอกประยุทธ “อารมณเสียมาก”

                             วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๙ ผูจัดการรายวัน เขียนวา รัฐประหารรอบนี้จะตองไมเพียง
                 หยุดความขัดแยงทางการเมืองชั่วคราว ตองถอนรากถอนโคน “ระบอบทักษิณ” และตองประคอง

                 อยูใน “ชวงเปลี่ยนผาน” โดยมี คสช. หรือองคการสืบทอดอยูในอํานาจอีกอยางนอย ๕ ป รัฐประหาร
                 ในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๓๐ น. โดยคณะรักษา

                 ความสงบแหงชาติ (คสช.) อันมีพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา เปนหัวหนาคณะ โคนรัฐบาลรักษาการ
                 นิวัฒนธํารง บุญทรงไพศาล นับเปนรัฐประหารครั้งที่ ๑๓ ในประวัติศาสตรไทย รัฐประหารดังกลาวเกิดขึ้น

                 หลังวิกฤตการณการเมืองซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๕๖ เพื่อคัดคานรางพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ
                 และอิทธิพลของดร.ทักษิณ ชินวัตร ในการเมืองไทย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25