Page 16 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 16

๗




                 นานเกือบ ๑๕ ป และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งเปนชนวนเหตุที่ทําใหประชาชน
                 เบื่อหนายการปกครองในระบอบเผด็จการทหาร และตองการเรียกรองรัฐธรรมนูญที่เปนประชาธิปไตยขึ้น

                             การประทวงเริ่มขึ้นอยางเดนชัดเมื่อมีการตีพิมพ “บันทึกลับจากทุงใหญ” ออกเผยแพร
                 ทําใหเกิดความสนใจในหมูประชาชน สูการเดินแจกใบปลิวเรียกรองรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาใน

                 สถานที่ตางๆ ในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเปนที่รูจักกันในฐานะ “๑๓ ขบถรัฐธรรมนูญ”
                 ทําใหเกิดความไมพอใจครั้งใหญแกมวลนักศึกษา และประชาชนเปนอยางมาก เกิดการประทวงเริ่มตน

                 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สูการเดินประทวงในถนนราชดําเนิน โดยมีประชาชนทยอยเขารวม
                 จํานวนมาก ทําใหรัฐบาลไดทําการสลายการชุมนุมจนมีผูเสียชีวิต และบาดเจ็บเปนจํานวนมาก จนเมื่อ

                 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ไดมี
                 พระราชดํารัสทางโทรทัศนรวมการเฉพาะกิจแหงประเทศไทยตอเหตุการณครั้งนี้ ในเวลาตอมาจอมพล

                 ถนอม กิตติขจร ก็ไดประกาศลาออก และไดเดินทางออกตางประเทศรวมถึง พ.อ.ณรงค กิตติขจร
                 และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุมบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกวา “๓ ทรราช”

                             เหตุการณ ๑๔ ตุลา เปนการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกรองประชาธิปไตยไทย

                 สําเร็จและยังถือเปนการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตรไทย จนกลายเปน
                 แรงบันดาลใจใหแกภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทําตามในเวลาตอมา เชน ที่เกาหลีใตในเหตุการณ
                 จลาจลที่เมืองกวางจู เปนตน



                 àËμØ¡Òó¾ÄÉÀÒ·ÁÔÌ

                             เหตุการณครั้งนี้ เริ่มตนมาจากเหตุการณรัฐประหาร ๒๓ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือ

                 ๑ ปกอนหนาการประทวง ซึ่ง รสช. ไดยึดอํานาจจากรัฐบาล ซึ่งมีพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เปน นายก
                 รัฐมนตรี โดยใหเหตุผลหลักวา มีการฉอราษฎรบังหลวงอยางหนักในรัฐบาล และรัฐบาลพยายามทําลาย

                 สถาบันทหาร โดยหลังจากยึดอํานาจ คณะ รสช. ไดเลือก นายอานันท ปนยารชุน เปนนายกรัฐมนตรี
                 รักษาการ มีการแตงตั้งสภานิติบัญญัติแหงชาติขึ้น รวมทั้งการแตงตั้งคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญ ๒๐ คน

                 เพื่อรางรัฐธรรมนูญใหม
                             หลังจากรางรัฐธรรมนูญสําเร็จ ก็ไดมีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม

                 พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยพรรคที่ไดจํานวนผูแทนมากที่สุดคือ พรรคสามัคคีธรรม (๗๙ คน) ไดเปนแกนนําจัดตั้ง
                 รัฐบาล โดยมีการรวมตัวกับพรรครวมรัฐบาลอื่น ๆ คือ พรรคชาติไทย พรรคกิจสังคม และพรรค

                 ราษฎร และมีการเตรียมเสนอนายณรงค วงศวรรณ หัวหนาพรรคสามัคคีธรรมในฐานะหัวหนาพรรคที่มี
                 ผูแทนมากที่สุด ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี แตปรากฏวา ทางโฆษกกระทรวงการตางประเทศสหรัฐอเมริกา

                 นางมารกาเร็ต แท็ตไวเลอร ไดออกมาประกาศวา นายณรงค นั้นเปนผูหนึ่งที่ไมสามารถขอวีซา
                 เดินทางเขาสหรัฐฯ ได เนื่องจากมีความใกลชิดกับนักคายาเสพติด
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21