Page 17 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 17

๘




                          ในที่สุด จึงมีการเสนอชื่อ พลเอก สุจินดา คราประยูร ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเมื่อ
              ไดรับพระราชทานแตงตั้งอยางเปนทางการแลว ก็เกิดความไมพอใจของประชาชนในวงกวาง เนื่องจาก

              กอนหนานี้ ในระหวางที่มีการทักทวงโตแยงเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญที่รางขึ้นมาใหมวา ไมมีความเปน
              ประชาธิปไตย ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้ก็ไดถูกประกาศใช พลเอก สุจินดา คราประยูร ไดใหสัมภาษณ

              หลายครั้งวา ตนและสมาชิกในคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติจะไมรับตําแหนงทางการเมืองใด ๆ
              แตภายหลังไดมารับตําแหนงรัฐมนตรี ซึ่งไมตรงกับที่เคยพูดไว เหตุการณนี้จึงไดเปนที่มาของประโยคที่วา

              “เสียสัตยเพื่อชาติ” และเปนหนึ่งในชนวนใหฝายที่คัดคานรัฐธรรมนูญฉบับนี้ทําการเคลื่อนไหวอีกดวย
                          เหตุการณครั้งนี้นําไปสูการตอตานของประชาชนอีกครั้ง นําไปสูการเคลื่อนไหวคัดคาน

              ตาง ๆ ของประชาชน รวมถึงการอดอาหารของ ร.ต.ฉลาด วรฉัตร และ พล.ต.จําลอง ศรีเมือง (หัวหนา
              พรรคพลังธรรมในขณะนั้น) สหพันธนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย ที่มีนายปริญญา เทวานฤมิตรกุล เปน

              เลขาธิการ ตามมาดวยการสนับสนุนของพรรคฝายคานประกอบดวยพรรคประชาธิปตย พรรคเอกภาพ
              พรรคความหวังใหม และพรรคพลังธรรม โดยมีขอเรียกรองใหนายกรัฐมนตรีลาออกจากตําแหนง และ

              เสนอวาผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีตองมาจากการเลือกตั้งหลังการชุมนุมยืดเยื้อตั้งแตเดือนเมษายน

              เมื่อเขาเดือนพฤษภาคมรัฐบาลเริ่มระดมทหารเขามารักษาการในกรุงเทพมหานคร และเริ่มมีการเผชิญ
              หนากันระหวางผูชุมนุมกับเจาหนาที่ตํารวจและทหารในบริเวณราชดําเนินกลาง ทําใหสถานการณ
              ตึงเครียดมากขึ้นเรื่อย ๆ มีการเคลื่อนขบวนประชาชนจากสนามหลวงไปยังถนนราชดําเนินกลาง

              เพื่อไปยังหนาทําเนียบรัฐบาล ตํารวจและทหารไดสกัดการเคลื่อนขบวนของประชาชน เริ่มเกิดการ

              ปะทะกันระหวางประชาชนกับเจาหนาที่ตํารวจในบางจุด และมีการบุกเผาสถานีตํารวจนครบาลนางเลิ้ง
              จากนั้น รัฐบาลไดประกาศสถานการณฉุกเฉินในกรุงเทพมหานคร และใหทหารทําหนาที่รักษาความสงบ

              แตไดนําไปสูการปะทะกันกับประชาชน มีการใชกระสุนจริงยิงใสผูชุมนุมในบริเวณถนนราชดําเนิน
              จากนั้นจึงเขาสลายการชุมนุมในเชามืดวันเดียวกันนั้น ตามหลักฐานที่ปรากฏมีผูเสียชีวิตหลายสิบคน

                          กอนเที่ยงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ทหารไดควบคุมตัว พล.ต.จําลอง ศรีเมือง จากบริเวณที่
              ชุมนุมกลางถนนราชดําเนินกลาง และรัฐบาลไดออกแถลงการณหลายฉบับ และรายงานขาวทางโทรทัศน

              ของรัฐบาลทุกชอง ยืนยันวาไมมีการเสียชีวิตของประชาชน แตการชุมนุมตอตานของประชาชนยังไม
              สิ้นสุด เริ่มมีประชาชนออกมาชุมนุมอยางตอเนื่องในหลายพื้นที่ทั่วกรุงเทพฯ โดยเฉพาะที่มหาวิทยาลัย

              รามคําแหง พรอมมีการตั้งแนวปองกัน การปราบปรามตามถนนสายตาง ๆ และยังปรากฏขาวรายงาน
              การปะทะกันระหวางเจาหนาที่กับประชาชนในหลายจุด และเริ่มเกิดการปะทะกันรุนแรงมากขึ้น

              เจาหนาที่เริ่มเขาควบคุมพื้นที่บริเวณถนนราชดําเนินกลางได และควบคุมตัวประชาชนจํานวนมาก
              ขึ้นรถบรรทุกทหารไปควบคุมไว พล.อ.สุจินดา คราประยูร นายกรัฐมนตรี แถลงการณยํ้าวาสถานการณ

              เริ่มกลับสูความสงบ และไมใหประชาชนเขารวมชุมนุมอีก แตยังปรากฏการรวมตัวของประชาชนใหม
              ที่มหาวิทยาลัยรามคําแหงในคืนวันเดียวกัน และมีการเริ่มกอความไมสงบเพื่อตอตานรัฐบาลโดยกลุม
              จักรยานยนตหลายพื้นที่ในกรุงเทพมหานคร เชน การทุบทําลายปอมจราจรและสัญญาณไฟจราจร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22