Page 12 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 12

๓




                 พระเชษฐารวมสมเด็จพระบรมชนกนาถของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว พระองคยังเปน
                 รัชทายาทดวย ตามกฎหมายการสืบราชสันตติวงศอันซับซอนของราชวงศจักรี กลายเปนวาพระบาท

                 สมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเปนพระมหากษัตริยผูเห็นอกเห็นใจ ทรงตัดรายจายในพระราชวังและเสด็จ
                 พระราชดําเนินทั่วประเทศอยางกวางขวาง และเมื่อเสด็จกลับมายังพระนคร พระองคทรงทําใหเปนที่

                 ยอมรับ และโดดเดนแกหมูชนชั้นสูง และชนชั้นกลางในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเติบโตขึ้นกวาแตกอน
                 โดยทรงประกอบพระราชกรณียกิจสาธารณะหลายอยาง จนถึงเวลานี้ นักเรียนหลายคนที่ถูกสงไปศึกษา

                 ตางประเทศเมื่อหลายทศวรรษกอนเริ่มเดินทางกลับประเทศแลว แตนักเรียนเหลานี้กลับขาดโอกาส
                 การยึดมั่นของเจานายและความลาหลังเปรียบเทียบของประเทศ สวนมากจึงหูตาสวางกับสถานะเดิม

                             เมื่อถึง พ.ศ. ๒๔๗๓ สถานการณโลกหนักหนาเกินกวาประเทศจะรับได เมื่อตลาดหุน
                 วอลลสตรีถลม และความลมสลายทางเศรษฐกิจมาถึงสยามในที่สุด พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว

                 ทรงเสนอใหจัดเก็บภาษีรายไดทั่วไป และภาษีอสังหาริมทรัพย เพื่อชวยบรรเทาความเดือดรอนของ
                 คนยากจน แตนโยบายดังกลาว ถูกสภาปฏิเสธอยางรุนแรง ซึ่งสภาเกรงวาทรัพยสินของพวกตนจะลดลง

                 สภาหันไปลดคาตอบแทนของขาราชการพลเรือน และลดงบประมาณทางทหารแทน ทําใหอภิชน

                 ผูไดรับการศึกษาในประเทศสวนใหญโกรธ โดยเฉพาะอยางยิ่งเหลานายทหาร และในป ๒๔๗๔
                 พระวรวงศเธอ พระองคเจาบวรเดช เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ลาออก พระองคเจาบวรเดชมิใชสมาชิก
                 อภิรัฐมนตรีสภา และสงสัยวาความไมลงรอยกับสภาเรื่องการตัดงบประมาณนําไปสูการลาออกนี้

                 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ผูทรงยอมรับวาพระองคทรงขาดความรูการคลังอยางเปดเผย

                 พยายามตอสูกับเจานายที่อาวุโสกวาในเรื่องนี้ แตก็สําเร็จเพียงเล็กนอย
                             ขณะเดียวกัน พระองคทรงทุมความพยายามรางรัฐธรรมนูญ อันจะนําประชาธิปไตยสู

                 สยามเปนครั้งแรก ดวยความชวยเหลือจากเจานายอีกสองพระองค และที่ปรึกษานโยบายตางประเทศ
                 ชาวอเมริกัน เรยมอนด บารทเล็ตต สตีเฟนส แมจะไดรับการกราบทูลทัดทานวาประชาชนสยาม

                 ยังไมพรอม แตพระองคยังทรงมุงมั่นที่จะมอบรัฐธรรมนูญแกปวงชนกอนงานเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๕๐ ป
                 ราชวงศจักรีในป ๒๔๗๕ ทวา เอกสารดังกลาวไดถูกเจานายในอภิรัฐมนตรีสภาปฏิเสธอยางสิ้นเชิง

                 แตมีมุมมองอีกฝายหนึ่งวา พระองคทรงมีพระราชกระแสรับสั่งที่สื่อวาพระองคไมโปรดประชาธิปไตย
                 คือ “ประเทศนี้พรอมแลวหรือยังที่จะมีการปกครองแบบมีผูแทน... ตามความเห็นสวนตัวของ

                 ขาพเจาแลว ขาพเจาขอยํ้าวาไม”
                             เมื่อสิ้นเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเสด็จออกจาก

                 กรุงเทพมหานครในชวงเสด็จแปรพระราชฐานฤดูรอน โดยทรงมอบหมายใหสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ
                 เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุ กรมพระนครสวรรควรพินิตเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองค โดยพระองคเสด็จ

                 ไปประทับยังวังไกลกังวล ที่หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17