Page 11 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 11

๒




              จะหามปรามได แมองคกรทางศาสนาอาจทัดทานอํานาจกษัตริยได  ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยนั้น
              ไมมีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยูเหนือกวาคําชี้ขาดของกษัตริย ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น

              ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมอบความไววางใจทั้งหมดใหกับพระเจาแผนดิน
                          โดยบทเรียนนี้จะใหบรรยายถึงวิกฤตการณการเมืองครั้งสําคัญเทานั้น มิไดจะลง

              รายละเอียดครอบคลุมถึงการเมืองตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน



              ¡Òû¯ÔÇÑμÔ òô ÁԶعÒ¹ òô÷õ
                          พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงปฏิรูปประเทศใหทันสมัยในหลายดาน

              แตการปฏิรูปรัฐธรรมนูญกลับเปนไปอยางเชื่องชาซึ่งสรางความไมพอใจในหมูพวกหัวกาวหนา
              และพวกหัวรุนแรง

                          ในป พ.ศ. ๒๔๕๔ ไดเกิดกบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ซึ่งดําเนินการโดยคณะนายทหารหนุม เปาหมาย
              ของคณะคือเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองและลมลางระบอบเกาและแทนที่ดวยระบบรัฐธรรมนูญ

              ตะวันตกที่ทันสมัย และอาจตองการยกพระบรมวงศานุวงศพระองคอื่นเปนพระมหากษัตริยแทนดวย

              อาจกลาวไดวากบฏ ร.ศ. ๑๓๐ เปนแรงขับดันใหคณะราษฎรปฏิวัติ โดยภายหลังยึดอํานาจแลว
              พระยาพหลพลพยุหเสนาไดเชิญผูนําการกบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ไปพบและกลาวกับขุนทวยหาญพิทักษ
              (เหล็ง ศรีจันทร) วา “ถาไมมีคณะคุณ ก็เห็นจะไมมีคณะผม” และหลวงประดิษฐมนูธรรมก็ไดกลาว

              ในโอกาสเดียวกันวา “พวกผมถือวาการปฏิวัติครั้งนี้เปนการกระทําตอเนื่องจากการกระทํา

              เมื่อ ร.ศ. ๑๓๐” การปฏิวัติดังกลาวลมเหลวและผูกอการถูกจําคุก นับแตนั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา
              เจาอยูหัวทรงเลิกความพยายามสวนใหญในการปฏิรูปรัฐธรรมนูญ และทรงปกครองประเทศตอไป

              ภายใตระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมีขอยกเวนบางที่โปรดฯ แตงตั้งสามัญชนบางคนสู
              สภาองคมนตรีและรัฐบาล

                          ตอมา สมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟาฯ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ทรงสืบราชสมบัติ
              สืบตอจากพระเชษฐา เปนพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว หลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา

              เจาอยูหัวเสด็จสวรรคต พระองคทรงสืบชวงปกครองประเทศในวิกฤตการณ พระเชษฐาของพระองค
              ทรงไดทําใหสถานะของประเทศเกือบจะลมละลาย เพราะทรงมักจะใชเงินจากกองคลังมาปกปด

              การขาดดุลของทองพระคลังขางที่ และขอเท็จจริงยังมีวารัฐ และประชาชนถูกบังคับใหจายเงินแกพระบรม
              วงศานุวงศหลายพระองค ซึ่งมีวิถีชีวิตอันหรูหราฟุมเฟอย พระองคทรงรีบจัดตั้งอภิรัฐมนตรีสภาขึ้นเปน

              องคกรหลักในการปกครองรัฐ เพื่อพยายามแกไขปญหาที่ประเทศกําลังเผชิญอยู สภานั้นประกอบดวย
              เจานายอาวุโสมีประสบการณซึ่งเคยดํารงตําแหนงรัฐมนตรีในรัฐบาลกอนมาแลว เจานายเหลานั้น

              เรงเปลี่ยนตัวสามัญชนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวในขาราชการพลเรือนและทหารแลว
              แทนที่ดวยคนของพวกตน สภาถูกครอบงําโดย สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุ

              กรมพระนครสวรรควรพินิต เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ผูทรงไดรับการศึกษาจากเยอรมนี และเปน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16