Page 14 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 14

๕




                 ครั้งนี้ก็ถูกปราบปรามลง เจานายหลายพระองคตองเสด็จนิราศไปประทับยังตางประเทศ มีหลายคนใน
                 คณะกบฏตองรับโทษจําคุก หลังจากนั้นไมถึงสองป พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดเสด็จไป

                 ประทับอยูในประเทศอังกฤษ และทรงสละราชสมบัติ คณะราษฎรจึงไดถวายราชบัลลังกแดพระบาท
                 สมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล ในเวลาตอมา

                             ในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๑ พระยาพหลพลพยุหเสนาก็ไดลาออกจากตําแหนง เนื่องจาก
                 สุขภาพไมดีจึงทําใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดดํารงตําแหนงตอมา หลังจากนั้นทหารเริ่มมีอํานาจ

                 มากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแตเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๑ ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๗ จอมพล ป. ไดเปน
                 นายกรัฐมนตรีเปนเวลาหาปครึ่ง ซึ่งมีบทบาทอยางมากในการสรางประวัติศาสตรของเมืองไทย นโยบาย

                 ที่สําคัญที่สุดคือ รัฐนิยม ซึ่งเปนนโยบายรักชาติ แสดงออกโดยการรณรงคตอตานคนจีน และนโยบาย
                 สงครามที่เปนมิตรกับญี่ปุนพรอมกับประกาศสงครามกับประเทศอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา นโยบาย

                 ดังกลาวมีตั้งแตโครงการรวมชาติ การสรางเอกลักษณของชาติ การสรางความเปนชาตินิยมทั้งทาง
                 เศรษฐกิจและสังคม และความสนใจตอผลประโยชนของสาธารณะ

                             ขอผิดพลาดอยางใหญหลวง และทําใหตองเสียฐานอํานาจไปอยางมาก ก็คือนโยบายของ

                 จอมพล ป. ที่ตัดสินใจรวมเปนพันธมิตรกับญี่ปุนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และประกาศสงครามกับ
                 สหรัฐอเมริกา และอังกฤษนั้นเกิดจากเหตุผลหลายประการ ที่สําคัญที่สุดคือ ความกดดันจากสถานการณ
                 และอาจจะมาจากการคาดการณผิดคิดวาญี่ปุนจะชนะสงคราม ดังนั้นการเขารวมกับญี่ปุนก็เหมือนกับ

                 การเขารวมกับผูชนะ ซึ่งประเทศไทยอาจไดผลประโยชนรวมกับผูชนะ แตวาการตัดสินใจของจอมพล ป.

                 กลายเปนสิ่งที่ผิดที่นําพาจอมพล ป. ไปสูการสิ้นสุดอํานาจหลังจากสงครามโลกสิ้นสุดลง
                             ปจจัยสองขอที่ทําใหผูนําไทยสามารถจัดการกับสถานการณเพื่อหลุดพนจากวิกฤตการณ

                 ครั้งนี้ ปจจัยสองประการนี้คือ
                             (๑)  ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ซึ่งเปนเอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงวอชิงตันปฏิเสธที่จะสง

                 สาสนประกาศสงครามใหกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
                             (๒) ไดมีการจัดตั้งขบวนการเสรีไทยซึ่งประกอบดวยคนไทยที่อยูทั้งในประเทศ

                 และตางประเทศ โดยมีเปาหมายเพื่อการกูเอกราชของชาติ


                 ÃÑ°»ÃÐËÒà ñö ¡Ñ¹ÂÒ¹ ¾.È. òõðð

                             ชวงปลายของยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม คือชวงหลัง ๒๔๙๐-๒๕๐๐ เปนเวลา ๑๐ ป

                 มีการเปลี่ยนแปลงคอนขางมาก การเมืองไทยก็แตกเปน ๓ กลุมสําคัญๆ ที่เรียกวา การเมืองสามเสา
                 คือ กลุมของจอมพล ป. พล.ต.อ.เผา ศรียานนท และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ซึ่งการตอสูทางการเมือง

                 ในชวง ๒-๓ ปหลังคอนขางเขมขนมาก
                             เนื่องจากมีกระแสตอตานอํานาจของจอมพล ป. จากหลายฝาย รัฐบาลจอมพล ป.

                 คอนขางมีปญหาในการบริหารกับวุฒิสภา ซึ่งเปนวุฒิสภาที่มาจากการแตงตั้งโดยอํานาจของสถาบัน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19