Page 10 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 10
๑
º··Õè ñ
¡ÒÃàÁ×ͧ àÈÃɰ¡Ô¨ áÅÐÊѧ¤Áä·Â
ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤
๑. เพื่อใหผูเรียนรูและเขาใจประวัติ วิวัฒนาการการเมืองไทยหลังการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง
๒. เพื่อใหผูเรียนรูวิวัฒนาการระบบเศรษฐกิจไทย วิวัฒนาการสังคมไทย
๓. เพื่อใหผูเรียนรูถึงสังคมไทยสมัยใหมกับสังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน
ʋǹนํา
ภายหลังการปฏิรูปการปกครองและการปฏิรูปการศึกษาในรัชกาลที่ ๕ พระองคไดมีกระแส
ความคิดที่จะใหประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปน
ระบอบการปกครองที่มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมีรัฐสภาเปนสถาบันหลัก
ที่จะใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครองมากขึ้นเปนลําดับ จนกระทั่งไดมีคณะนายทหารชุดกบฏ
ร.ศ.๑๓๐ ซึ่งมีความคิดที่จะปฏิบัติการใหบรรลุความมุงหมายดังกลาว แตไมทันลงมือกระทําการก็ถูก
จับไดเสียกอนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ ในตนรัชกาลที่ ๖
อยางไรก็ตาม เสียงเรียกรองใหมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ยังคงมีออกมาเปนระยะๆ
นอกจากการปรับตัวของรัฐบาลทางดานการเมืองการปกครองใหทันสมัยยิ่งกวาเดิมแตเพียงเทานั้น
แตก็ยังไมไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแตประการใด
จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ ๗ ไดมีคณะผูกอการรายภายใตการนําของ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
ซึ่งไดกอการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนผลสําเร็จใน พ.ศ.๒๔๗๕ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ จึงเปนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สําคัญของประวัติศาสตรชาติไทย
ÇÔÇѲ¹Ò¡ÒáÒÃàÁ×ͧä·ÂËÅѧ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¡Òû¡¤Ãͧ
การศึกษาการเมืองการปกครองไทยหากจะแบงยุคสมัยใหเหมาะสมแกการศึกษาแลว
จะแบงออกไดเปน ๓ ยุคสมัยดวยกัน คือ สมัยสุโขทัย ระหวาง พ.ศ. ๑๗๘๑ – ๑๙๒๑ สมัยอยุธยา
พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐ และสมัยรัตนโกสินทร พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๔๗๕ สวนหลังจาก พ.ศ. ๒๔๗๕ จนถึง
ปจจุบัน ซึ่งจะพูดถึงตอไปในบทเรียนจะถือไดวาเปนการเมืองสมัยใหมของไทยเพราะไดมีการลมลาง
ระบบการปกครองเดิมที่ไดมีมานาน เรียกวา สมบูรณาญาสิทธิราชย เปนระบอบการปกครองที่มีกษัตริย
เปนผูปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริยก็คือกฎหมาย
กลาวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยูที่กษัตริย คําสั่ง ความตองการตาง ๆ ลวนมีผลเปนกฎหมาย กษัตริย
มีอํานาจในการปกครองแผนดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไมมีกฎหมายหรือองคกรตามกฎหมายใด ๆ