Page 13 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 13

๔




              ¼Å¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¡Òû¡¤Ãͧ ÁÕÊÒÃÐสํา¤ÑÞ ´Ñ§¹Õé
                          ๑.  ยกเลิกการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย เปลี่ยนมาเปนการปกครองแบบ

              ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
                          ๒.  มีกฎหมายรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดและเปนหลักในการปกครองประเทศ

                          ๓.  พระมหากษัตริยทรงมีพระราชฐานะและพระราชอํานาจตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว
              โดยพระองคทรงเปนผูใชอํานาจอธิปไตยโดยทางออม ๓ ทาง คือ

                             ๑)  อํานาจนิติบัญญัติ ผานทางรัฐสภา
                             ๒)  อํานาจบริหาร ผานทางคณะรัฐมนตรี
                             ๓)  อํานาจตุลาการ ผานทางศาลยุติธรรม

                          ๔.  มีการจัดระเบียบบริหารราชการแผนดิน ออกเปน ๓ สวน คือ
                             ๑)  สวนกลาง ไดแก กระทรวง ทบวง กรม

                             ๒)  สวนภูมิภาค ไดแก จังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน
                             ๓)  สวนทองถิ่น ไดแก เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนจังหวัด

              เมืองพัทยา และกรุงเทพมหานคร
                          เปนที่สังเกตไดวาการเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยเปนไปอยางสงบไมรุนแรงเหมือน

              หลายๆ ประเทศ เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ยอมเห็นตามคณะราษฎรแตโดยดี
              เพื่อหลีกเลี่ยงความรุนแรง แตอยางไรก็ตามลักษณะการเมืองการปกครอง มิไดเปนประชาธิปไตย
              โดยสมบูรณ อํานาจบางสวนตกอยูกับผูนําทางการเมือง หรือผูบริหารประเทศ มีการขัดแยงกันในดาน

              นโยบาย มีการแยงชิงผลประโยชน เปนเหตุใหเกิดการปฏิวัติรัฐประหารขึ้นหลายครั้ง ระบบการปกครอง
              ของไทยจึงมีลักษณะกลับไปกลับมาระหวางประชาธิปไตยกับคณาธิปไตย (การปกครองโดยคณะปฏิวัติ)

                          ในระยะหาปแรกของการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ ปรากฏวามีเหตุการณเกิดขึ้นหลาย
              เหตุการณ อันมีผลนําไปสูความคลอนแคลนของรัฐบาล เหตุการณสําคัญประการหนึ่ง ไดแก กรณี
              การนําเสนอเคาโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๖ กลาวคือ ในขณะที่มี

              การยึดอํานาจเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น ไดมีประกาศของคณะราษฎรซึ่งระบุถึงนโยบาย ๖ ประการ
              นายปรีดี ไดยกรางเคาโครงการเศรษฐกิจแหงชาติขึ้นจากนโยบายขอสาม เคาโครงเศรษฐกิจนี้ไดรับ

              การวิพากษวิจารณมาก วามีลักษณะแนวทางแบบสังคมนิยม ทําใหเกิดการแตกแยกกันในรัฐบาล จนถึงกับ
              ตองมีการปดการประชุมสภาผูแทนราษฎร และงดใชรัฐธรรมนูญบางมาตรา สวนนายปรีดี ตองเดินทาง

              ออกจากประเทศไทย อยางไรก็ตาม คณะทหารภายใตการนําของนายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
              ไดทําการยึดอํานาจรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติธาดา เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๖

              แลวตั้งตัวเองเปนรัฐบาล
                          วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๖ ไดเกิดการกบฏของกลุมนายทหาร และขาราชการ
              ในตางจังหวัด ภายใตการนําของพระองคเจาบวรเดช อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม โดยประกาศวา

              ตองการใหประเทศชาติมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอยางแทจริง อยางไรก็ตาม การกบฏ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18