Page 15 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 15

๖




              พระมหากษัตริย ซึ่งบรรดาวุฒิสภาสวนใหญจะเปนขุนนางเกา เจานาย คุณพระ พระยา ที่หัวเกา
              ดังนั้น จึงมีความคิดในการบริหารที่ไมคอยจะตรงกัน ประกอบกับความไมโปรงใสในการบริหาร

              บานเมือง จึงนําไปสูรัฐประหารในวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนหัวหนา
              คณะนายทหารนํากําลังเขายึดอํานาจของรัฐบาลซึ่งมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี

              ภายหลังจากเกิดการเลือกตั้งสกปรก และรัฐบาลไดรับการคัดคานจากประชาชนอยางหนัก จอมพล ป.
              พิบูลสงคราม และพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท ตองหลบหนีออกไปนอกประเทศ จึงถือวารัฐประหาร

              ครั้งนี้เปนการโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่มาจากการเลือกตั้งลงนี้ ถือเปนการสิ้นสุด
              นายกรัฐมนตรีเปนเชื้อสายคณะราษฎรอยางเด็ดขาด

                          หลังจากรัฐประหาร ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐ เพียงแค ๑ ปก็มีรัฐประหารเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
              ในวันที่ ๒๐ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ สงผลใหรัฐธรรมนูญของป ๒๔๙๕ จึงถูกยกเลิก เปนการยุติ

              รัฐบาลแบบประชาธิปไตย หลังจากนั้นประเทศไทยไดถูกปกครองโดยเผด็จการแบบพอขุนภายใต
              จอมพลสฤษดิ์และผูสืบทอดคือ จอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร ระบบเผด็จการ

              แบบพอขุนอยูไดเปนเวลา ๑๕ ป โดยมีประชาธิปไตยครึ่งใบแทรกเขามาเล็กนอย กอนที่จะถูกลม

              โดยการลุกฮือซึ่งนําโดยนักศึกษาเมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ และเหตุการณนั้นเรียกวา
              “การปฏิวัติเดือนตุลาคม”



              ÇѹÁËÒÇԻ⤠ËÃ×Í àËμØ¡Òó ñô μØÅÒ¤Á òõñö

                          เหตุการณเริ่มมาจากการที่จอมพล ถนอม กิตติขจร รัฐประหารตัวเอง ในวันที่ ๑๗
              พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งนักศึกษาและประชาชนมองวา เปนการสืบทอดอํานาจตนเองจาก

              จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต นอกจากนี้ จอมพลถนอม จะตองเกษียณอายุราชการเนื่องจากอายุครบ ๖๐ ป
              แตกลับตออายุราชการตนเองในตําแหนงผูบัญชาการทหารสูงสุดออกไป ทั้งพลเอก ประภาส

              จารุเสถียร บุคคลสําคัญในรัฐบาล ที่มิไดรับการยอมรับเหมือนจอมพลถนอม กลับจะไดรับยศจอมพล
              และตําแหนงผูบัญชาการทหารบก ประกอบกับขาวคราวเรื่องทุจริตในวงราชการ สรางความไมพอใจ

              ในหมูประชาชนอยางมาก
                          เหตุการณ ๑๔ ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เปนเหตุการณการกอการกําเริบโดยประชาชน

              ครั้งสําคัญในประวัติศาสตรการเมืองไทย เปนเหตุการณที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกวา ๕ แสนคน
              ชุมนุมเพื่อเรียกรองรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นําไปสูคําสั่งของรัฐบาล

              ใหใชกําลังทหารเขาปราบปราม ระหวางวันที่ ๑๔ ถึง ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ จนมีผูเสียชีวิตกวา
              ๗๗ ราย บาดเจ็บ ๘๕๗ ราย และสูญหายอีกจํานวนมาก

                          เหตุการณครั้งนี้ไดเกิดขึ้นดวยสาเหตุที่สะสมกอนหนานี้หลายประการทั้ง ขาวการทุจริต
              ในรัฐบาล การพบซากสัตวปาจากอุทยานในเฮลิคอปเตอรทหาร แสดงใหเห็นถึงการทุจริตของจอมพล

              ถนอม กิตติขจร ตอจาก จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ซึ่งเปนชวงเวลาที่รัฐบาลทหารเขาปกครองประเทศ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20