Page 19 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 19

๑๐




                          ในป ๒๕๔๘ เริ่มมีการขับไลทักษิณ ชินวัตร จากตําแหนงนายกรัฐมนตรี เนื่องจากขอกลาวหา
              การบริหารประเทศของรัฐบาลที่อาจมีผลประโยชนทับซอนในเรื่องตาง ๆ รวมทั้งปญหาฉอราษฎร

              บังหลวง และไดขยายตัวเปนวงกวางยิ่งขึ้น โดยกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) ที่มี
              สนธิ ลิ้มทองกุล เปนผูนํา


              ¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§Ê¹¸Ô-·Ñ¡ÉÔ³ áÅСóÕàÁ×ͧä·ÂÃÒÂÊÑ»´Òˏ

                          สนธิ ลิ้มทองกุล เคยสนับสนุนทักษิณในการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีสมัยแรกกอนที่

              นายสนธิเปลี่ยนมาเปนโจมตีทักษิณ หลังจากที่ตนเสียผลประโยชนทางธุรกิจ ความขัดแยงดังกลาว
              ไดขยายตัวขึ้นเมื่อชองโทรทัศน ๑๑/๑ ของนายสนธิถูกสั่งยุติการออกอากาศชั่วคราว จากการพิพาท

              ในหนังสือสัญญากับผูวางระเบียบของรัฐบาล
                          กลางเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ฝายบริหารของ อสมท. มีมติใหระงับการออกอากาศ

              รายการเมืองไทยรายสัปดาห ทางสถานีโทรทัศนโมเดิรนไนนทีวีอยางไมมีกําหนด เนื่องจาก สนธิ
              ลิ้มทองกุล ผูดําเนินรายการ ไดอานบทความเรื่อง “ลูกแกะหลงทาง” ซึ่งมีเนื้อหาโดยออมกลาวหา
              รัฐบาลทักษิณ และเชื่อมโยงไปถึงสถาบันเบื้องสูง นายสนธิจึงเปลี่ยนเปนการจัดรายการนอกสถานที่แทน

              แตหลังจากนั้นก็มีกลุมคนที่สนับสนุนนายกรัฐมนตรีออกมาเคลื่อนไหวเชนเดียวกัน ทําใหเกิดความเห็นตาง
              ทางการเมือง ตอมาเกิดรัฐประหาร สงผลใหฝายทหารในนามคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบ

              ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (ภายหลังเปลี่ยนเปนคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ
              (คมช.) นําโดย  พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน เถลิงอํานาจ และเขามามีบทบาททางการเมือง

                          ตอมาคณะรัฐประหารไดแตงตั้งรัฐบาลชั่วคราว ซึ่งมีพลเอก สุรยุทธ จุลานนท เปนนายก
              รัฐมนตรี ระหวางป ๒๕๔๙-๒๕๕๐ ซึ่งในชวงดังกลาว มีกลุมออกมาเคลื่อนไหวตอตานรัฐประหาร

              หลายกลุม กลุมที่มีชื่อเสียง คือ กลุมแนวรวมประชาธิปไตยขับไลเผด็จการ (นปก.) โดยกลาวหาวา
              พลเอก เปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรี อยูเบื้องหลังรัฐประหาร และตองการขับไล คมช.
              และรัฐบาล ตอมา พรรคพลังประชาชน ซึ่งถูกมองวาเกี่ยวของทางการเมืองกับทักษิณ ชินวัตร

              ชนะการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. ๒๕๕๐ และจัดตั้งรัฐบาลผสม ทําใหพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
              กลับมาชุมนุมอีกครั้ง ในเดือนธันวาคม ๒๕๕๑ ไดบุกยึดทาอากาศยานดอนเมืองและสุวรรณภูมิ

              เพื่อกดดันใหนายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทรเวช และสมชาย วงศสวัสดิ์ ออกจากตําแหนง กอนยุติการ
              ชุมนุมเมื่อศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคพลังประชาชน
                          ผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๕๑ ปรากฏวา อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

              หัวหนาพรรคประชาธิปตย และผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ไดรับเลือก ทําใหกลุมแนวรวม
              ประชาธิปไตยตอตานเผด็จการแหงชาติ (นปช., เดิมคือ นปก.) กลับมาชุมนุมอีกครั้งในป ๒๕๕๒

              และ ๒๕๕๓ เพื่อกดดันใหอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ  ออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีแตไมประสบผลสําเร็จ
              ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๓ มีการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค หลังจากนั้นยังไมมีการชุมนุมจาก

              กลุมการเมืองตาง ๆ พักหนึ่ง จนในป ๒๕๕๖ ไดเกิดวิกฤตการณการเมืองรอบใหม
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24