Page 23 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 23

๑๔




                             ชวงนี้ประเทศไทยถูกจัดอยูในโลกที่สามมีความสําคัญในฐานะการเปนแหลงที่ตั้ง
              ของการผลิตสินคาอุตสาหกรรมเพื่อตลาดโลกเหมือนประเทศโลกที่สามอื่นๆ เหตุผลนี้เองเปนแรง

              ผลักดันใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ มีการนําเขาเครื่องจักรกลและสินคาขั้นกลาง ไดแก
              ชิ้นสวนอุปกรณและวัตถุดิบในการผลิต มาถึงยุคนี้พวกการยังชีพแบบเดิมๆ จะแทบไมเห็นนอกจากแถบ

              ชนบทที่หางไกลความเจริญและชวงปลายของ พ.ศ. ๒๕๑๓ ไดมีการสงออกสินคาที่ผลิตจากโรงงาน
              อุตสาหกรรมมากขึ้น โดยเฉพาะสินคาประเภทสิ่งทอ อาหารกระปอง ผลไมกระปอง วงจรทรานซิสเตอร

              เพชรพลอย เครื่องประดับและอาหารสัตว เปนตน
                             จะเห็นไดวา ในชวงนี้ประเทศไทยไดผันตัวเขาไปผูกมัดกับระบบทุนนิยมโลกอยางมาก

              ทําใหสูญเสียความเปนอิสระไปอยางสิ้นเชิง  ผลกระทบจากการขยายฐานอยางรวดเร็วนี้ คือ ปญหา
              สิ่งแวดลอมเปนพิษ เพราะการขยายฐานการผลิตแบบเรงดวนเพื่อตอบสนองระบบทุนนิยมโลกนั้น

              จําเปนตองเปลี่ยนโครงสรางการผลิตใหเปนอุตสาหกรรมนั้น สรางผลกระทบโดยตรงใหกับสิ่งแวดลอม
              และธรรมชาติ



              ÇÔÇѲ¹Ò¡ÒÃÊѧ¤Áä·Â

                          ÊÁÑ¡ÃاÃÑμ¹â¡ÊÔ¹·Ã
                          สภาพบานเมืองหลังจากที่พระเจาตากสินทําศึกสงครามเพื่อกอบกูเอกราชนั้นเต็มไปดวย

              ความเสียหาย จึงตองยายมาสรางเมืองใหมที่กรุงธนบุรี เปนชวงเวลาสั้นๆ จนในป พ.ศ. ๒๓๒๕ จึงมี

              การยายมาสถาปนากรุงรัตนโกสินทร ชวงนี้จึงเปนชวงที่บานเมืองยังคงวุนวายกับการพัฒนาเมืองหลวง
              สรางสาธารณูปโภคตางๆ เชน การขุดคลองรอบกรุง การจัดระเบียบชุมชน สรางปอมและกําแพงเมือง

              สภาพสังคมในสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีการแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงขุนนางเปนจํานวนมาก
              เพราะขุนนางเสียชีวิตในคราวสงครามกับพมาปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุงธนบุรี ตลอดจนการ

              จลาจลปลายสมัยกรุงธนบุรีเปนจํานวนมาก ไดมีการแกไขปญหาขาดแคลนขาราชการโดยยกเลิกกฎเกณฑ
              คุณสมบัติของผูเขาเปนขุนนาง เปดโอกาสใหสามัญชนซึ่งมีความรู ความประพฤติดีเขาเปนขุนนางได

                          พระมหากษัตริยในสมัยนี้มีความใกลชิดกับขุนนางดวยการสรางความสัมพันธทางเครือญาติ
              กับบรรดาขุนนางตระกูลสําคัญ ๆ เพื่อเพิ่มความจงรักภักดีในหมูขุนนางใหแนนแฟนมากขึ้น เปนการ

              สรางเสถียรภาพ และความมั่นคงของราชบัลลังก นอกจากนี้นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลในการคาขาย
              ตางประเทศใหพระบรมวงศานุวงศและขุนนาง มีความสัมพันธทางเครือญาติและอุปถัมภอยางใกลชิด

              ทําใหสามารถแสวงหารายไดผลประโยชนจากตําแหนงหนาที่เปนผูที่มีฐานะมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
              มีอํานาจทางเศรษฐกิจ มีอํานาจทางการเมือง มีการประสานประโยชนระหวางพระมหากษัตริย

              เจานาย และขุนนาง
                          การเลื่อนฐานะของพวกเจานายในสมัยกรุงรัตนโกสินทรโดยเฉพาะสมัยพระบาทสมเด็จ

              พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มีลักษณะเปนกาวกระโดด เพราะเปนชวงตั้งเมืองหลวงและราชวงศใหม
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28