Page 22 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 22

๑๓




                             ที่ดินทั้งหลายที่มีอยูภายในเขตราชอาณาจักรนั้นเปนของพระเจาแผนดิน ดังนั้น ระบบ
                 กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเอกชนยังไมเกิดขึ้น รัฐบาล และชนชั้นนํา ไดรับสวนแบงผลผลิตจากระบบ

                 เศรษฐกิจแบบนี้โดยระบบสวยและอากร การเกณฑแรงงานและบริการจากขาทาสบริวาร ไพรทุกคน
                 ตองขึ้นทะเบียนสังกัดมูลนาย ไพรจะตองถูกเกณฑไปทํางานทั่วไป เชน ทํางานโยธา สรางวัดสราง
                 โบสถ กําแพงเมือง สถานที่ราชการตางๆ นอกจากนี้ไพรก็ไมมีสิทธิในการรับจางงานอื่นๆ นอกจากจะ
                 ไดรับการอนุญาตจากมูลนาย ในสวนของแรงงานทาสที่มีมากมายนั้น ไมมีอิสระเสรีในการทํามาหากิน

                 เทาที่ควร
                             ระบบเศรษฐกิจแบบธรรมชาติเชนนี้ ทําใหการคาภายในประเทศอยูในลักษณะที่แคบ

                 สวนใหญเปนการแลกของกับของ เงินไมมีการใชอยางแพรหลาย การเคลื่อนยายผลผลิตเปนไป
                 ในรูปของการสงสวย เปนสวยสิ่งของที่ชนชั้นปกครองเกณฑจากไพรทาส ในกรณีที่มีความตองการ
                 สินคาฟุมเฟอยจากตางประเทศ จะมีการนําสวนที่เหลือไปใชแลก ดังนั้นการคาตางประเทศสมัยนั้นคือ
                 การแลกเปลี่ยนสินคาฟุมเฟอยเพื่อการบริโภคของชนชั้นนํานั่นเอง ในเมื่อการคาอยูภายใตการผูกขาด

                 ของรัฐ อัตราการขยายตัวของการผลิตจึงแทบไมมีการขยายตัวเลย



                             ๒.  ชวงสนธิสัญญาเบาริงถึงสงครามโลกครั้งที่ ๒
                                 การเขารวมในการคาระหวางประเทศใน พ.ศ. ๒๙๓๘ ไดเกิดการเปลี่ยนโครงสราง
                 สินคาออกและสินคาเขา เกิดมีการผลิตเฉพาะอยางขึ้น สินคานําเขา เกิดมีการผลิตเฉพาะอยางขึ้น
                 สินคานําเขาแตเดิมประกอบดวยสินคาฟุมเฟอยเพื่อการบริโภคของชนชั้นนําก็เปลี่ยนมาเปนสินคา

                 หลายชนิดเพื่อการบริโภคของคนทั่วไป สวนสินคาสงออกที่ผานมาจะมีปริมาณนอยแตหลากหลายชนิด
                 ก็เปลี่ยนมาเปนสินคาสําคัญไมกี่ชนิดแตผลิตในปริมาณที่มาก ยุคนี้จึงสามารถเรียกไดอีกอยางวาเปนการ

                 ผลิตแบบแบงงานกันทําระหวางประเทศ สงผลใหการผลิตแบบอิสระเลือนรางหายไป ลักษณะทั่วไปที่
                 สําคัญของเศรษฐกิจไทยในชวงนี้ก็คือ ประเทศไทยเราถูกหลอมรวมเขาไปในระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
                 ระดับโลกมากขึ้น ประเทศไทยทําหนาที่ผลิตสินคาเฉพาะอยาง แตเปนสินคาปฐมภูมิหรือสงออกวัตถุดิบ
                 สินคาเพื่อการสงออกหลักๆ จะมี ขาว ไมสัก ดีบุก การแลกเปลี่ยนสินคาก็เปนไปในลักษณะของสินคา

                 สําเร็จรูป เพื่อนําเขามาเพื่อการบริโภคภายในประเทศ จะเห็นไดวา การกาวเขาสูเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
                 แบบนี้ สงผลใหหัตถกรรมพื้นบานพังทลายลง



                             ๓.  ระบบเศรษฐกิจชวง ป พ.ศ. ๒๕๐๓ เปนตนมา
                                 ชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดมีการเปลี่ยนแปลงทางดานโครงสรางทางเศรษฐกิจมากขึ้น

                 ทั้งในดานการผลิตสินคาปฐมภูมิ การขยายตัวของอุตสาหกรรมมีขนาดใหญขึ้นตามกันไป ประกอบกับ
                 การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจเสรีที่เปดใหนายทุนตางชาติ เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรปตะวันตก
                 เขามาลงทุนโดยตรง ขณะเดียวกันธนาคารโลก กองทุนการเงินระหวางประเทศก็เขามามีบทบาทเสนอ

                 ใหประเทศไทยปรับปรุงโครงสรางทางเศรษฐกิจใหใหญขึ้นเพื่อตอบสนองการขยายตัวของทุนนิยมโลก
                 ซึ่งเปนภายใตการนําของบรรษัทขามชาติ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27