Page 106 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 106

๙๙




                             อยางไรก็ตามหากเปนการจับกุมโดยใชโทรเลขที่ไดแจงวาไดออกหมายจับแลวหรือ
                 สําเนาหมายที่สงทางโทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น จะตองสงหมายจับ

                 หรือสําเนาหมายจับที่รับรองแลวไปยังผูจัดการตามหมายจับโดยพลัน (มาตรา ๗๗ วรรคทาย)
                             หมายจับ ไมวาจะเปนตนฉบับหรือสําเนาหมายจับที่ไดมีการรับรองวาถูกตองแลว

                 ตามหลักเกณฑ มาตรา ๗๗ นั้น เมื่อไดออกแลวจะใชจับผูมีชื่อในหมายจับนั้นไดทั่วราชอาณาจักร
                 และ㪌䴌¨¹¡Ç‹Ò¨Ð¨Ñºä´Œเวนแตความผิดอาญาตามหมายนั้นไดขาดอายุความหรือศาลผูออกหมาย

                 นั้นไดถอนหมายคืน (มาตรา ๖๘)

                 õ.ó ¼ÙŒÁÕÍíÒ¹Ò¨¨Ñº

                             ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไดกําหนดใหบุคคล ๒ ประเภท ที่จะมีอํานาจ

                 ในการจับได คือ
                             ๑.  เจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ พนักงานสอบสวน

                             ๒.  ราษฎร

                             ซึ่งในแตละประเภทนั้นจะมีอํานาจจับกุมไดนั้นตองเปนไปตามหลักเกณฑที่กฎหมาย
                 กําหนดไว กลาวคือ


                             õ.ó.ñ ¡ÒèѺâ´Â਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹½†Ò»¡¤ÃͧËÃ×ÍตําÃǨ

                                    เจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจจะมีอํานาจจับกุมบุคคลที่ตองสงสัยวา
                 เปนผูกระทําความผิดได แบงออกเปน

                                    ๑)  การจับโดยมีหมายจับ
                                    ๒)  การจับโดยไมมีหมายจับ

                                    ¡ÒèѺâ´ÂÁÕËÁÒ¨Ѻ
                                    ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ไดกําหนดหลักเกณฑวิธีการจัดการ

                 ตามหมายอาญาซึ่งรวมถึงหมายจับซึ่งเปนหมายอาญาประเภทหนึ่ง ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้
                                    ๑)  เจาพนักงานผูจัดการตามหมายนั้นจะตองแจงขอความใหแกผูเกี่ยวของทราบ

                 และถามีคําขอรองใหสงหมายนั้นใหเขาตรวจดู (มาตรา ๖๒ วรรคแรก)
                                    ๒)  ตองบันทึกการแจงขอความในหมายและการสงหมายใหตรวจดู ตลอดจน

                 บันทึกวัน เดือน ป ที่จัดการนั้นดวย (มาตรา ๖๖ วรรค ๒)
                                    ๓)  เมื่อเจาพนักงานไดจัดการตามหมายแลวใหบันทึกรายละเอียดในการจัดการ

                 นั้น ถาจัดการตามหมายไมไดใหบันทึกพฤติการณไวแลวใหสงบันทึกนั้นไปยังศาลที่ออกหมายโดยเร็ว
                 (มาตรา ๖๓)
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111