Page 107 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 107

๑๐๐




                                 ๔)  เมื่อจับบุคคลตามหมายจับไดหรือคนพบคนหรือสิ่งของที่มีหมายใหคนแลว
              ถาสามารถจะทําไดใหสงบุคคลหรือสิ่งของนั้นโดยดวนไปยังศาลที่ออกหมายหรือเจาพนักงานตามที่

              กําหนดไวในหมายแลวแตกรณี เวนแตจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น (มาตรา ๖๔)
                                 ๕)  ถาบุคคลที่ถูกจับตามหมายจับนั้นหลบหนีหรือมีผูชวยใหหนีไปได
              ใหเจาพนักงานผูจับมีอํานาจติดตามจับกุมผูนั้นไดโดยไมตองมีหมายจับอีก (มาตรา ๖๕)



                                 ¡Ã³Õ¡ÒèѺâ´ÂäÁ‹ÁÕËÁÒ¨ѺμÒÁ¢ŒÍ¡àÇŒ¹¢Í§¡®ËÁÒÂ

                                 เนื่องจากในบางกรณีมีการกระทําผิดเฉพาะหนาหรือเหตุการณที่มีความจําเปน
              เรงดวนที่ไมอาจจะไปรองขอหมายจับได ดังนั้นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาจึงไดกําหนด

              เปนขอยกเวนไววา กรณีใดบางที่เจาพนักงานตํารวจสามารถดําเนินการจับกุมผูกระทําความผิดได
              โดยไมตองมีหมายจับดังปรากฏหลักเกณฑในมาตรา ๗๘

                                 ÁÒμÃÒ ÷ø “พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจจะจับผูใดโดยไมมีหมายจับ
              หรือคําสั่งของศาลนั้นไมได เวนแต
                                 (๑)  เมื่อบุคคลนั้นไดกระทําความผิดซึ่งหนาดังไดบัญญัติไวในมาตรา ๘๐

                                 (๒)  เมื่อพบบุคคลโดยพฤติการณอันควรสงสัยวาผูนั้นนาจะกอเหตุรายใหเกิด
              ภยันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่นโดยมีเครื่องมือ อาวุธหรือวัตถุอยางอื่นอันสามารถอาจใช

              ในการกระทําความผิด
                                 (๓)  เมื่อมีเหตุที่จะออกหมายจับบุคคลนั้นตามมาตรา ๖๖(๒) แตมีความจําเปน

              เรงดวนที่ไมอาจขอใหศาลออกหมายจับบุคคลนั้นได
                                 (๔)  เปนการจับผูตองหาหรือจําเลยที่หนีหรือจะหลบหนีในระหวางถูกปลอย

              ชั่วคราวตามมาตรา ๑๑๗”

                                 (ñ)  ¡Ã³Õ¡ÒèѺ¡Ã³Õ¤ÇÒÁ¼Ô´«Öè§Ë¹ŒÒμÒÁÁÒμÃÒ ÷ø (ñ) เจาพนักงานตํารวจ

              จับไดโดยไมตองมีหมายจับ หากวาเปนความผิดซึ่งหนา
                                 จากบทบัญญัติมาตรา ๗๘ (๑) จะเห็นไดวากฎหมายใหอํานาจในการจับกุม

              หากเจาพนักงานตํารวจไดพบเห็นวามีบุคคลได¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´«Öè§Ë¹ŒÒ ซึ่งความผิดซึ่งหนาที่กฎหมาย
              ไดบัญญัติหลักเกณฑที่ใหถือวาเปนการกระทําความผิดซึ่งหนานั้นไวในมาตรา ๘๐
                                 ¤ÇÒÁ¼Ô´«Öè§Ë¹ŒÒ “ความผิดซึ่งหนาที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

              มาตรา ๘๐ ไดบัญญัติไว มาตรา ๘๐ ที่เรียกวาความผิดซึ่งหนา ไดแก ความผิดซึ่งเห็นกําลังกระทํา
              หรือพบในอาการใดซึ่งแทบจะไมมีความสงสัยเลยวาเขาไดกระทําผิดมาแลวสด ๆ

                                 อยางไรก็ดี ความผิดอาญาดังระบุไวในบัญชีทายประมวลกฎหมายนี้ใหถือวา
              ความผิดนั้นเปนความผิดซึ่งหนาในกรณีดังนี้

                                 (๑)  เมื่อบุคคลหนึ่งถูกไลจับดังผูกระทําโดยมีเสียงรองเอะอะ
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112