Page 26 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 26

๑๙




                             (ñô) ⨷¡ หมายความถึง “พนักงานอัยการ หรือผูเสียหายซึ่งฟองคดีอาญาตอศาล
                 หรือทั้งคูในเมื่อพนักงานอัยการและผูเสียหายเปนโจทกรวมกัน”

                                   จากคําจํากัดความนี้ สามารถแยกผูที่เปนโจทกในคดีอาญาได คือ
                                   ๑.  พนักงานอัยการ

                                   ๒.  ผูเสียหาย
                                   ๓.  ทั้งพนักงานอัยการ และผูเสียหายเปนโจทกรวมกัน

                                   ¾¹Ñ¡§Ò¹ÍÑ¡Òà ซึ่งมีหนาที่ฟองผูตองหาตอศาล (มาตรา ๒ (๕)) สามารถเปน
                 โจทกในคดีอาญาได และขอใหสังเกตวากฎหมายใชμíÒá˹‹§¾¹Ñ¡§Ò¹ÍÑ¡ÒÃ໚¹สํา¤ÑÞ ËÒ㪋กํา˹´

                 μÑǺؤ¤ÅäÁ‹ ดังนั้น ผูใดก็ตามที่ดํารงตําแหนงพนักงานอัยการ ซึ่งอยูในเขตอํานาจนั้น ๆ ยอมสามารถ
                 เปนโจทกไดโดยไมตองจํากัดดวยตัวบุคคล พนักงานอัยการจึงดําเนินคดีแทนกันได หากมีตําแหนงอยู

                 ในเขตอํานาจเดียวกัน และบุคคลที่ดํารงตําแหนงพนักงานอัยการที่อยูในทองที่เดียวกัน แมจะดําเนิน
                 แทนกันไดก็ยังสามารถลงชื่อแทนกันได เมื่อไดความหมายวา พนักงานอัยการเปนโจทก ไดยื่นฟองคดี

                 อาญาแลวก็สามารถที่จะดําเนินคดีไดตลอดถึงศาลอุทธรณและศาลฎีกา และสามารถมีอิสระเต็มที่ใน

                 การดําเนินคดีเทาที่อํานาจมีอยู ทั้งสิทธิในการดําเนินคดีก็แยกตางหากจากผูเสียหาย โดยไมขึ้นตอกัน
                                   ดังนั้น ใน¡Ã³Õ໚¹¤ÇÒÁ¼Ô´μ‹ÍἋ¹´Ô¹ แมผูเสียหายจะไมติดใจดําเนินคดี พนักงาน
                 อัยการก็มีอํานาจฟองคดีนั้นได โดยไมตองพิจารณาถึงความตองการของผูเสียหาย ทั้งนี้ เพราะใน

                 ปจจุบันถือกันวาความผิดอาญาเปนความผิดที่เกิดแกรัฐหรือสังคม รัฐจะตองรับผิดชอบในความผิด

                 อาญาที่เกิดขึ้น รัฐจึงเปนผูฟองดําเนินคดี โดยตั้งพนักงานอัยการขึ้นเพื่อดําเนินคดีแทนรัฐ
                                   ¼ÙŒàÊÕÂËÒ ซึ่งหมายถึงบุคคลที่ไดรับความเสียหายเนื่องจากการกระทําความผิด

                 ฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งผูที่มีอํานาจจัดการแทนได ตามที่กฎหมายกําหนดนั้น ก็ยอมมีสิทธิเปนโจทก
                 ฟองคดีอาญาได เมื่อผูเสียหายฟองคดีอาญาแลวก็ยอมมีฐานะเปนโจทกตามกฎหมาย และมีอํานาจ

                 อิสระในการดําเนินคดีไมขึ้นอยูกับฝายใด เหมือนอํานาจอิสระเชนเดียวกับพนักงานอัยการ
                                   กรณีที่ผูเสียหายเปนโจทก ผูเสียหายเทานั้นที่จะตองลงลายมือชื่อโจทกในคําฟอง

                 ผูอื่นที่ไมใชผูเสียหายจะลงลายมือชื่อชองโจทกไมได
                                   อยางไรก็ตาม คําวาโจทกในที่นี้ ถาËÒ¡ÁÕ¡ÒÃÁͺอํา¹Ò¨ãËŒÁÕ¡ÒÃทําá·¹ เชน

                 ผูเสียหายมอบอํานาจใหผูใดฟองคดี ผูรับมอบอํานาจถือวามีฐานะเปนโจทกดวย และถือวาเปนคูความ
                 ผูรับมอบอํานาจจึงสามารถลงชื่อในชองโจทกก็ได และลงชื่อในชองผูเรียงไดดวย (ฎีกาที่ ๕๐๒/๒๕๒๓,

                 ฎีกาที่ ๘๙๐/๒๕๐๓)
                                   ¾¹Ñ¡§Ò¹ÍÑ¡ÒÃáÅмٌàÊÕÂËÒÂ໚¹â¨·¡Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ การที่ทั้งสองฝายตางก็มีอํานาจ

                 อิสระเปนโจทกรวมกันนี้ ก็ตองถือวามีอํานาจเปนโจทกเหมือนกัน และทั้งสองฝายก็ยังถือวาเปนโจทก
                 ที่มีอํานาจอิสระดวยกันเหมือนเดิม แตกฎหมายคงมีขอจํากัดอํานาจของผูเสียหายไวในกรณีที่เปนโจทก

                 รวมกันนี้ ในมาตรา ๓๒ ที่วา “เมื่อพนักงานอัยการและผูเสียหายเปนโจทกรวมกัน ถาพนักงานอัยการ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31