Page 27 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 27
๒๐
เห็นวาผูเสียหายจะกระทําใหคดีของอัยการเสียหายโดยกระทําหรือละเวนกระทําการใด ๆ ในกระบวน
พิจารณา พนักงานอัยการมีอํานาจรองตอศาลใหสั่งผูเสียหายกระทําหรือละเวนกระทําการนั้นได”
จากบทบัญญัติดังกลาว เปนการจํากัดอํานาจในทางการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีเทานั้น
สวนในกรณีอื่นที่มิไดทําใหคดีของอัยการเสียหายแลว ก็ยอมกระทําได
ผลของการที่ผูเสียหายเปนโจทกรวมกับพนักงานอัยการ คือ
๑. ผูเสียหายจะไปเปนโจทกฟองจําเลยคนเดียวกันในการกระทําอันเดียวกัน
เปนคดีตางหากอีกไมได เพราะเปนฟองซอน (ฎีกาที่ ๒๙๘-๒๙๙/๒๕๑๐)
๒. ผูเสียหายที่เปนโจทกรวมจะขอแกไขเพิ่มเติมฟองใหนอกเหนือไปจากฟองของ
พนักงานอัยการไมได (ฎีกาที่ ๓๘๓๓/๒๕๒๕)
๓. หากฟองของอัยการบกพรอง ผูเสียหายตองรับผลนั้นดวย (ฎีกา
๑๕๘๓/๒๕๑๓)
¢ŒÍÊѧà¡μ
๑) การขอเปนโจทกรวมนั้น ในกรณีที่ผูเสียหายจะเขามาเปนโจทกรวมกับพนักงานอัยการไดนั้น จะตองเปน
¼ÙŒàÊÕÂËÒÂâ´Â¹ÔμԹѴŒÇ กลาวคือ มิไดมีสวนเกี่ยวของในความผิดที่เกิดขึ้นนั้น
๒) การขอเปนโจทกรวมนั้น หากเปนความผิดที่รัฐเทานั้นเปนผูเสียหาย เชน ความผิดตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก ฯ
หากเปนความผิดที่เอกชนไมอาจเปนผูเสียหายได เอกชนจึงไมอาจขอเขารวมเปนโจทกกับพนักงานอัยการได
(ñõ) ¤Ù‹¤ÇÒÁ หมายความถึง “โจทกฝายหนึ่งและจําเลยอีกฝายหนึ่ง”
ในกรณีที่ตองมีการดําเนินการในศาล หากกฎหมายบัญญัติวาจะตองเปนการ
กระทําของคูความแลว หากไมใชคูความก็ไมมีอํานาจกระทํา คูความจึงตอง໚¹â¨·¡áÅÐจําàÅÂ
เรื่องนี้พอจะพิจารณาไดในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เรื่องการ
ฎีกา ตามมาตรา ๒๑๖ กฎหมายใชคําวาผูฎีกาไดตองเปนคูความ ดังนั้น ที่วาคดีที่ผูเสียหายฟองคดีเอง
กอนที่ศาลจะประทับรับฟอง มิใหถือวาจําเลยตกอยูในฐานะเปนจําเลย เมื่อเปนเชนนี้ก็ยังไมเปน
คูความ ถาศาลชั้นตนฟงวาคดีไมมีมูลใหยกฟอง แตศาลอุทธรณฟงวาคดีมีมูลใหฟอง จําเลยจะฎีกา
ไมได เพราะไมมีฐานะเปนคูความ (ฎีกา ๖๘๐/๒๕๑๔)
(ñö) “¾¹Ñ¡§Ò¹½†Ò»¡¤ÃͧËÃ×ÍตําÃǨ” หมายความถึง “เจาพนักงานซึ่งกฎหมายใหมี
อํานาจหรือหนาที่รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน ใหรวมทั้งพัศดี เจาพนักงานกรมสรรพสามิต
กรมศุลกากร กรมเจาทา พนักงานตรวจคนเขาเมือง และเจาพนักงานอื่น ๆ ในเมื่อทําการอันเกี่ยวกับ
การจับกุมปราบปรามผูกระทําผิดกฎหมาย ซึ่งตนมีหนาที่ตองจับกุมหรือปราบปราม”
จากนิยามทั้งตัวเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ แบงออกเปน ๒ กรณี