Page 8 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 8

๑


                                                       º··Õè ñ



                                                        º··ÑèÇä»




                 ñ.ñ º··ÑèÇä»

                             บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทุกฉบับจะบัญญัติในการรับรอง
                 สิทธิเสรีภาพของประชาชน ในการที่จะมีสิทธิเสรีภาพในชีวิตรางกายและทรัพยสิน ตลอดจนภายใน

                 เคหสถานของบุคคล แตจากสภาพการณที่เกิดขึ้นในสังคมนั้น ไดมีการละเมิดสิทธิเสรีภาพของ
                 ประชาชนดังกลาวและจากการที่สํานักงานตํารวจแหงชาติมีหนาที่โดยตรงในการรักษาความสงบภายใน

                 ประเทศ จึงเปนหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจโดยตรงในการที่จะนําตัวผูกระทําความผิดตอกฎหมาย
                 อาญามาดําเนินคดี ใหไดรับโทษตามที่บทบัญญัติของกฎหมายไดกําหนดไว อยางไรก็ตามเพื่อใหสังคม

                 อยูรวมกันอยางสงบสุข แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จะไดรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
                 ขณะเดียวกัน ในการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจซึ่งมีหนาที่รักษาความสงบภายในประเทศ

                 อาจจําเปนตองมีการละเมิดสิทธิบางประการก็ตาม ซึ่งการที่เจาพนักงานตํารวจจะปฏิบัติหนาที่อันอาจ
                 ไปกระทบถึงสิทธิของประชาชนนั้น เจาพนักงานตํารวจจะตองกระทําภายใตกฎหมายที่ใหอํานาจไว

                 เทานั้น และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ก็เปนกฎหมายฉบับที่สําคัญฉบับหนึ่งที่กําหนด
                 ใหอํานาจใหแกเจาพนักงานตํารวจ เพราะเปนกฎหมายที่วาดวยหลักเกณฑและวิธีการคนหาความจริง

                 อันเกี่ยวกับการกระทําความผิดและการนําตัวผูกระทําความผิดตอกฎหมายอาญามาดําเนินการ
                 พิจารณาและลงโทษตามบทบัญญัติของกฎหมาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได

                 ประกอบดวยหลักเกณฑของเรื่อง การรองทุกข การกลาวโทษ การสืบสวน การสอบสวน การชันสูตรพลิกศพ
                 การสั่งคดี การฟองรอง การไตสวนมูลฟอง การพิจารณา การพิพากษา การอุทธรณ การฎีกา

                 และการบังคับคดีตามคําพิพากษา เปนตน หลักเกณฑเหลานี้ไดบัญญัติขึ้น โดยมีวัตถุประสงค
                 เพื่อใหอํานาจหนาที่แกเจาพนักงานของรัฐในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และศาล ในการรวมมือกัน

                 คนหาความจริงในการกระทําความผิดที่เกิดขึ้นวาเปนอยางไร  และการหาผูกระทําความผิด
                 เพื่อใหศาลเปนผูชี้ขาดวา ผูที่ถูกกลาวหาไดกระทําความผิดจริงหรือไม และตองรับผิดเพียงใด



                 ñ.ò Ãкº¡ÒÃดําà¹Ô¹¤´ÕÍÒÞÒ

                             การดําเนินคดีอาญาแบงเปน ๒ ระบบใหญ ๆ คือ ระบบไตสวนและระบบกลาวหา
                             ๑)  Ãкºäμ‹Êǹ (Inquisitorial System) เปนระบบการดําเนินคดีอาญาในยุโรปดั้งเดิม

                 ซึ่งในระบบนี้ศาลจะมีบทบาทหนาที่ทั้งการสอบสวน ฟองรอง และพิจารณาฟองคดี และผูถูกกลาวหา

                 จะมีฐานะเปนเพียงผูถูกซักฟอกจากการไตสวนของศาล
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13