Page 12 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 12

๕




                                     ๔.  ¡ÒÃÊÑ觤´Õ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาใหอํานาจในการฟอง
                 หรือสั่งไมฟองคดีแก¾¹Ñ¡§Ò¹ÍÑ¡Òà ซึ่งพนักงานอัยการจะพิจารณาสํานวนที่พนักงานสอบสวนรวบรวม

                 พยานหลักฐานตาง ๆ สงมาให เมื่อพนักงานอัยการไดพิจารณาสํานวนการสอบสวนนั้นแลว และเห็นวา
                 ขอเท็จจริงมีครบถวนก็จะสั่งฟอง หรือเห็นวายังไมสมบูรณ ก็สั่งสอบสวนเพิ่มเติม หรืออาจสั่งไมฟอง
                 ก็ไดเพราะเปนอํานาจของพนักงานอัยการ กรณีที่พนักงานอัยการเห็นวาสํานวนการสอบสวนสมบูรณ

                 แลว ก็จะออกคําสั่งสั่งฟอง รางคําฟองยื่นฟองคดีตอศาลที่มีอํานาจตอไป



                             ñ.ô.ò ¢Ñé¹μ͹ËÅѧ¿‡Í§¤´Õ
                                     ภายหลังที่พนักงานอัยการหรือผูเสียหายเปนโจทกยื่นฟองตอศาลชั้นตนแลว

                 ศาลชั้นตนจะดําเนินการดังนี้
                                     ๑.  ¡ÒÃμÃǨ¿‡Í§ กอนที่ศาลจะสั่งรับฟองไวพิจารณานั้น ผูพิพากษาจะตรวจ

                 คําฟองที่ยื่นมานั้น วาถูกตองตามแบบที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
                 มาตรา ๑๕๘ หรือไม และพิจารณาวาศาลของตนนั้นมีอํานาจที่จะรับฟองไวพิจารณาหรือไม
                 ถาผูพิพากษาตรวจแลวเห็นวาคําฟองนั้นไมถูกตอง ก็จะสั่งใหมีการแกไขใหถูกตอง หรืออาจสั่งไมประทับ

                 ฟองหรือยกฟองเสียก็ได ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูพิพากษา
                                     ๒.  ¡ÒÃäμ‹ÊǹÁÙÅ¿‡Í§ เปนการที่ผูพิพากษาที่รับผิดชอบในคดีนั้น ๆ จะทําการ

                 ไตสวนมูลฟอง เพื่อที่จะวินิจฉัยถึงมูลคดีที่ฟองนั้นวามีเหตุเหมาะสม นาเชื่อถือเพียงพอที่จะดําเนินการ
                 ตอไปหรือไม มีขอมูลนาเชื่อไดวาบุคคลนั้น ๆ เปนผูกระทําความผิดหรือไม อยางไร

                                         โดยปกติแลวถาเปนคดีที่พนักงานอัยการเปนโจทกฟอง ศาลจะประทับ
                 รับฟองโดยไมทําการไตสวนมูลฟองกอนก็ได (มาตรา ๑๖๒ (๒)) แตถากรณีราษฎรเปนโจทกฟอง เชนนี้

                 ผูพิพากษาจะทําการไตสวนมูลฟอง เนื่องจากกรณีที่ผูเสียหายฟองเองนั้นไมไดผานตรวจสอบขอมูล
                 จากพนักงานสอบสวนมากอน เมื่อไมไดผานการกลั่นกรองเชนนี้ ก็อาจมีการกลั่นแกลงกันไดงาย ดังนั้น
                 กฎหมายจึงกําหนดใหมีการไตสวนมูลฟอง (มาตรา ๑๖๒ (๑))

                                     ๓.  ¡ÒþԨÒÃ³Ò เปนการคนหาความจริงจากพยานหลักฐานที่คูกรณีฝายที่เปน
                 ผูฟองหรือโจทกนําเสนอเพื่อชี้ใหเห็นวาคูกรณีที่ตนฟองรองนั้นเปนผูที่ไดกระทําความผิดตามที่ตน

                 ฟองจริง ขณะเดียวกันฝายที่ถูกกลาวหาวาเปนผูกระทําความผิด ก็จะแสดงพยานหลักฐานเพื่อชี้ให
                 เห็นวาตนไมไดเปนผูกระทําความผิดตามที่ฝายโจทกกลาวหา
                                     ๔.  ¡ÒþԾҡÉÒ เมื่อคูกรณีทั้งฝายโจทกและจําเลยไดนําเสนอพยานหลักฐาน

                 ขึ้นมาในชั้นพิจารณาคดีแลว ผูพิพากษาก็จะพิจารณาพยานหลักฐานที่ทั้งสองฝายเสนอมาวาฝายใดมี
                 ความนาเชื่อถือ ถาพยานหลักฐานของฝายโจทกนาเชื่อถือก็จะพิจารณาพยานหลักฐานของฝายจําเลย

                 วาจําเลยมีพยานหลักฐานสามารถหักลางพยานหลักฐานของฝายโจทกไดหรือไม ถาหักลางไดก็จะ
                 พิพากษายกฟอง ถาหากหักลางไมไดก็จะพิพากษาลงโทษจําเลยไดมากนอยเพียงใด ตามบทลงโทษ

                 และกฎเกณฑที่กฎหมายไดกําหนดไว
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17