Page 15 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 15

๘



              ñ.õ ¹ÔÂÒÁÈѾ·

                          ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑ บัญญัติวา

                          “ในประมวลกฎหมายนี้ ถาคําใดมีคําอธิบายไวแลว ใหถือตามความหมายดังไดอธิบายไว
              เวนแตขอความในตัวบทจะขัดกับคําอธิบายนั้น” จากบทบัญญัติดังกลาว จะเห็นไดวา คําใดที่ประมวล
              กฎหมายนี้ไดมีคําอธิบายไวแลวก็ใหถือเอาความหมายตามที่ประมวลกฎหมายนี้ไดอธิบายความเอาไว
              ในคํานิยามศัพท เวนแต กรณีขอความในตัวบทกฎหมายจะขัดกับคําที่ไดอธิบายไวในคํานิยามศัพท

              ก็ใหถือความหมายที่ปรากฏในตัวบทนั้นเอง
                          ดังนั้น จึงกลาวไดวา คํานิยามศัพทจึงเปนคําที่แสดงความหมายตางๆ ที่ใชในประมวล

              กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาฉบับนี้ ซึ่งอาจมีความหมายที่ไมตรงกับความหมายตามปกติธรรมดา
              นั้นเอง อยางไรก็ตาม หากมีถอยคําใดที่ปรากฏมาในคดีความและถอยคํานั้น ๆ ไมไดมีคํานิยามไว
              หากมีปญหาใหใชความหมายที่ปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานในการตีความคํานั้นแทน
                          ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ ใหความหมายของคําตาง ๆ ดังนี้

                          (ñ)  ÈÒÅ หมายความถึง “ศาลยุติธรรมหรือผูพิพากษา ซึ่งมีอํานาจทําการอันเกี่ยวกับ
              คดีอาญา”

                               จากความขางตน คําวา “ศาล” จึงมีความหมาย ๒ อยาง
                               ๑.  ศาล คือ ตัวศาล หรือสถาบันศาล ซึ่งเปนอาคารสถานที่ตั้ง หรือที่ทําการ
              ของศาล
                               ๒.  ผูพิพากษา คือ ตัวบุคคลที่ไดรับการแตงตั้ง ซึ่งอาจเปนนายเดียว หรือองคคณะ

              ผูพิพากษา ซึ่งมีอํานาจทําการเกี่ยวกับคดีอาญา
                               ศาลยุติธรรมแบงออกเปน ๓ ชั้น คือ

                               ñ. ÈÒŪÑé¹μŒ¹ เปนศาลที่คูกรณีเริ่มตน ในการฟองรองดําเนินคดี ซึ่งในการดําเนิน
              คดีอาญานั้น ศาลชั้นตนไดแก ศาลแขวง ศาลจังหวัด ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต ศาลอาญาธนบุรี
              และศาลยุติธรรมอื่นที่ไดมีพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้นกําหนดใหเปนศาลชั้นตน เชน ศาลเยาวชน
              และครอบครัว

                               ò.  ÈÒÅÍØ·¸Ã³  เปนศาลที่อยูในระดับสูงกวาศาลชั้นตน ซึ่งมีอํานาจพิจารณา
              พิพากษาคดีที่ไดมีการอุทธรณคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นตน มีอํานาจพิจารณาพิพากษาบรรดา

              คดีที่มีการอุทธรณคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นตน มี ๑๐ แหง ไดแก ศาลอุทธรณ ศาลอุทธรณ
              ภาค ๑ - ๙
                               ó.  ÈÒÅ®Õ¡Ò เปนศาลสูงสุดมีอํานาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ

              คําพิพากษา หรือคําสั่งของศาลอุทธรณ ปจจุบันที่ศาลฎีกาเพียงแหงเดียว
                          (ò) ¼ÙŒμŒÍ§ËÒ หมายความถึง “บุคคลผูถูกหาวาไดกระทําความผิดแตยังมิไดถูกฟอง
              ตอศาล”  กรณีจะเปนผูตองหานั้น  บุคคลนั้นจะตองถูกผูเสียหายกลาวหา  โดยการรองทุกข

              หรือบุคคลอื่นกลาวหาโดยการกลาวโทษ ซึ่งการที่จะรองทุกขหรือกลาวโทษนั้น จะตองกระทํา
              ตอพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ หรือพนักงานสอบสวน แตทั้งนี้ยังมิไดถึงชั้นที่จะฟองรองตอศาล
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20