Page 20 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 20

๑๓




                 อยางไรก็ตาม เจาพนักงานผูมีหนาที่รับคํากลาวโทษนั้น ¨ÐäÁ‹ºÑ¹·Ö¡คํากลาวโทษหากวา
                                  ๑)  เมื่อผูกลาวโทษไมยอมแจงวาเขาคือใคร

                                  ๒)  เมื่อคํากลาวโทษเปนบัตรสนเทห
                             นอกจากนั้นคํากลาวโทษซึ่งไดบันทึกแลว แตผูกลาวโทษไมยอมลงลายมือชื่อเชนนี้
                 เจาพนักงานผูรับคํากลาวโทษจะไมจัดการแกคํากลาวโทษใหก็ได (มาตรา ๑๒๗)




                                         ¢ŒÍáμ¡μ‹Ò§ÃÐËNjҧคําÌͧ·Ø¡¢¡Ñºคํา¡Å‹ÒÇâ·É

                                  คํารองทุกข                                คํากลาวโทษ

                  ๑.  ผูàÊÕÂËÒÂเทานั้นที่จะเปนผูกลาวหา  ๑.  ผูกลาวโทษตองเปนºØ¤¤ÅÍ×è¹ ซึ่งไมใชผูเสียหาย
                  ๒.  ผูรองทุกขจะตองÁÕà¨μ¹ÒªÑ´à¨¹ที่จะให ๒.  กฎหมายäÁ‹ä´ŒºÑÞÞÑμÔÍ‹ҧªÑ´à¨¹Ç‹Ò ผูที่กลาวโทษ
                      ผูกระทําความผิดไดรับโทษ                  จะตองมีเจตนาใหผูกระทําความผิดไดรับโทษ
                                                                 หรือไม
                  ๓.  คํารองทุกขผูเสียหายสามารถรองทุกขได ๓.  ผูกลาวโทษจะกลาวโทษไดเฉพาะใน¤ÇÒÁ¼Ô´
                      ทั้ง¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞÒἋ¹´Ô¹ áÅФÇÒÁ¼Ô´  ÍÒÞÒἋ¹´Ô¹เทานั้น (พิจารณาจาก ป.วิอาญา
                    μ‹ÍʋǹμÑÇ                                   มาตรา ๒ (๗) (๘) ประกอบมาตรา ๑๒๑ วรรคสอง




                             (ù) ËÁÒÂÍÒÞÒ หมายความถึง “หนังสือบงการที่ออกตามบทบัญญัติแหงประมวล
                 กฎหมายนี้ สั่งใหเจาหนาที่ทําการจับ ขัง จําคุก หรือปลอยผูตองหา จําเลย หรือนักโทษ หรือใหทําการคน
                 รวมทั้งสํานวน หมายจับหรือหมายคนอันไดรับรองวาถูกตองและคําบอกกลาวทางโทรเลขวาไดออก

                 หมายจับ หรือหมายคนแลว ตลอดจนสําเนาหมายจับ หรือหมายคนที่ไดสงทางโทรสาร สื่ออิิเล็กทรอนิกส

                 หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่น ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๗๗”
                                  จะเห็นไดวาหมายตาง ๆ จะตองเปนไปตามแบบที่ปรากฏในขอบังคับประธาน

                 ศาลฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออกคําสั่งหรือหมายอาญา พ.ศ.๒๕๔๘ ซึ่งจะมี
                 รูปแบบและสีตางกันคือ

                                  ดังนั้น หมายอาญา มี ๕ ประเภท คือ
                                  ๑.  หมายจับ จะมีสีขาว

                                  ๒.  หมายคน จะมีสีขาว
                                  ๓.  หมายขัง   ระหวางสอบสวนจะมีสีฟา แตถาเปนหมายขังระหวางไตสวน

                 หรือพิจารณาจะมีสีเขียว
                                  ๔.  หมายจําคุก ระหวางอุทธรณฎีกาจะมีสีเหลือง แตหมายจําคุกซึ่งคดีถึงที่สุด

                 จะมีสีแดง
                                  ๕.  หมายปลอย จะมีสีสม
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25