Page 17 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 17

๑๐




                                   (๑๓) มีลามหรือรัฐจัดหาลามให เมื่อไมสามารถพูด หรือเขาใจภาษาไทย
              หรือหูหนวก หรือเปนใบ (มาตรา ๑๓ และ ๑๓ ทวิ)

                                   (๑๔) รองขอใหปลอยชั่วคราว และรองขอใหศาลปลอยถามีการคุมขังที่มิชอบ
              ดวยกฎหมาย (มาตรา ๑๐๘, ๙๐)

                                   (๑๕) ไมถูกจับ ควบคุม ตรวจคน โดยไมจําเปนหรือไมมีเหตุอันสมควร
              (มาตรา ๗๘, ๘๗, ๙๒)



                               ò) ÊÔ·¸Ô¢Í§¨íÒàÅ ไดแก

                                   (๑)  สิทธิไดรับการพิจารณาคดีดวยความรวดเร็ว ตอเนื่องและเปนธรรม
              (มาตรา ๘ (๒))

                                   (๒)  แตงทนายแกตางในชั้นไตสวนมูลฟอง หรือพิจารณาในศาลชั้นตน
              ตลอดจนชั้นศาลอุทธรณและศาลฎีกา (มาตรา ๘ (๒))

                                   (๓)  ปรึกษากับทนาย หรือผูที่จะเปนทนายเปนการเฉพาะตัว (มาตรา ๘ (๓))

                                   (๔)  ตรวจหรือคัดสําเนาคําใหการของตนในชั้นสอบสวน หรือเอกสารประกอบ
              คําใหการของตน (มาตรา ๘ (๖))
                                   (๕)  ตรวจดูสํานวนการไตสวนมูลฟอง หรือพิจารณาของศาลและคัดสําเนา

              หรือขอคัดสําเนาที่รับรองวาถูกตองโดยเสียคาธรรมเนียม เวนแตศาลจะมีคําสั่งใหยกเวนคาธรรมเนียม

              (มาตรา ๘ (๕))
                                   (๖)  ตรวจดูสิ่งของที่ยื่นเปนพยานหลักฐานและคดีสํานวนหรือถายรูปสิ่งนั้น ๆ

              (มาตรา ๘ (๔))
                                   (๗)  มีสิทธิใหการหรือไมใหการอยางใด ๆ ตอศาล (มาตรา ๑๖๕, ๑๗๒)

                                   (๘)  มีสิทธินําพยานเขานําสืบพิสูจนในการพิจารณา (มาตรา ๑๗๔)
                                   (๙)  สิทธิรับทราบคําฟอง และไดรับการอธิบายฟองจากศาล (มาตรา ๑๗๒)

                                   (๑๐)  มีสิทธิไดรับการจัดหาทนายความให (มาตรา ๑๗๓)
                                   (๑๑)  สิทธิไดรับพิจารณาตอหนา (มาตรา ๑๗๒)

                                   (๑๒) มีสิทธิเชนเดียวกับผูตองหาในเรื่องการจัดหาลาม, การขอใหปลอย
              ชั่วคราว (มาตรา ๑๓, ๑๓ ทวิ, ๑๐๘)

                                   (๑๓) มีสิทธิไมถูกจับ ควบคุม คน โดยไมจําเปน หรือไมมีเหตุอันสมควร
              (มาตรา ๙๐, ๗๘, ๘๗, ๙๒)

                                   (๑๔) สิทธิอุทธรณ หรือฎีกา คัดคาน คําพิพากษาของศาลและอุทธรณคัดคาน
              คําสั่งไมอนุญาตใหประกันของศาล

                                                                                 (ณรงค  ใจหาญ, ๒๕๕๖)
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22