Page 16 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 16

๙




                             (ó) จําàÅ หมายความถึง “บุคคลซึ่งถูกฟองยังศาลแลวโดยขอหาวาไดกระทําความผิด”
                 กรณีใดจะเปนจําเลยนั้นจะตองพิจารณา ดังนี้

                                  ๑.  หากพนักงานอัยการเปนผูฟองจะตกเปนจําเลยตั้งแตถูกฟอง
                                  ๒.  แตถาราษฎรฟองเองผูถูกฟองจะตกเปนจําเลยตอเมื่อศาลไดประทับรับฟอง
                 แลว (มาตรา ๑๖๕ วรรคสาม) ซึ่งหมายความวาในคดีที่ราษฎรเปนโจทกฟองกันเอง ศาลจะไตสวน

                 มูลฟองกอนวา คดีมีมูลฟองหรือไม หากคดีมีมูลจึงจะประทับฟองไวพิจารณา ดังนั้น กอนที่ศาล
                 จะประทับฟองนี้เอง ที่กฎหมายถือวาผูถูกฟองยังไมมีฐานะเปนจําเลย

                                  แมวาในสภาพความเปนจริง ผูตองหากับจําเลยจะเปนบุคคลคนเดียวกันก็ตาม
                 แตเมื่อสถานภาพไดเปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจากผลของกฎหมายอันเนื่องมาจากการที่ศาลรับฟอง

                 เชนนี้ สิทธิที่บุคคลดังกลาวจะไดรับจากกฎหมายก็อาจมีการปรับเปลี่ยนไปบาง เชน
                                  ñ) ÊÔ·¸Ô¢Í§¼ÙŒμŒÍ§ËÒ ไดแก

                                       (๑)  พบและปรึกษาผูซึ่งจะเปนทนายความเปนการเฉพาะตัว (มาตรา ๗/๑ (๑))
                                       (๒)  ไดรับการเยี่ยมตามสมควร (มาตรา ๗/๑ (๓))
                                       (๓)  ไดรับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกิดการเจ็บปวย (มาตรา ๗/๑ (๔))

                                       (๔)  ไดรับการแจงจากพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจซึ่งรับมอบตัวผูตองหา
                 วาผูตองหามีสิทธิตาม (๑) - (๓) ขางตน (มาตรา ๗/๑ วรรคทาย)

                                       (๕)  มีสิทธิไดรับการจัดหาทนายความให ถาเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป
                 ในวันแจงขอหาหรือคดีที่มีโทษประหารชีวิตและผูตองหาไมมีทนายความ สวนผูตองหาที่อายุเกิน ๑๘ ป

                 ในวันแจงขอหาและถูกกลาวหาในคดีมีโทษจําคุก ถาผูตองหาไมมีทนายความและตองการทนายความ
                 (มาตรา ๑๓๔/๑ วรรคหนึ่งและวรรคสอง)

                                       (๖)  มีสิทธิใหทนายความหรือผูซึี่งตนไววางใจเขาฟงการสอบปากคําของตน
                 (มาตรา ๗/๑ (๒) และ ๑๓๔/๔) ไดในชั้นสอบสวน
                                       (๗)  ไดรับแจงขอเท็จจริงที่เกี่ยวกับการทําผิด และขอหากอนสอบสวน

                 (มาตรา ๑๓๔)
                                       (๘)  ไดรับการแจงวามีสิทธิ และมีสิทธิใหการหรือไมใหการอยางใด ๆ ก็ได

                 ในชั้นสอบสวน (มาตรา ๑๓๔/๔)
                                       (๙)  มีสิทธิไมถูกบังคับ ขูเข็ญ ลอลวง ใหสัญญา เพื่อใหการ (มาตรา ๑๓๕)
                                       (๑๐)  ไดรับการเตือนจากพนักงานสอบสวนวา ถอยคําที่ใหการอาจใชยัน

                 ผูตองหาไดในชั้นพิจารณา (มาตรา ๑๓๔/๔)
                                       (๑๑)  มีสิทธิไดรับการสอบปากคําดวยวิธีพิเศษเชนเดียวกับพยานในกรณีที่เปน

                 ผูตองหาอายุไมเกินสิบแปดป (มาตรา ๑๓๔/๒, ๑๓๓ ทวิ)
                                       (๑๒) มีสิทธิไดรับการสอบสวนดวยความรวดเร็ว ตอเนื่องและเปนธรรม

                 (มาตรา ๑๓๔ วรรคสาม)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21