Page 18 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 18

๑๑




                             (ô) ¼ÙŒàÊÕÂËÒ หมายความถึง “บุคคลผูไดรับความเสียหายเนื่องจากการกระทําผิด
                 ฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคลอื่นที่มีอํานาจจัดการแทนได ดั่งบัญญัติไวในมาตรา ๔, ๕ และ ๖”

                                  จากมาตรา ๒ (๔) นี้ คําวาผูเสียหายสามารถแยกออกไดเปน ๒ ประเภท คือ
                                  ๑.  บุคคลผูไดรับความเสียหายโดยตรง  เนื่องจากการกระทําผิดอาญา
                 ฐานใดฐานหนึ่ง และ

                                  ๒.  ผูที่มีอํานาจจัดการแทนผูเสียหายตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๔, ๕ และ ๖
                                       (๑)  หลักเกณฑของผูเสียหายโดยตรง มีดังนี้

                                          ๑)  มีการกระทําผิดทางอาญาฐานใดฐานหนึ่งเกิดขึ้น
                                          ๒)  บุคคลนั้นไดรับความเสียหายจากการกระทําผิดอาญาดังกลาว

                                          ๓)  บุคคลนั้นตองเปนผูเสียหายโดยนิตินัย
                                       (๒) ผูที่มีอํานาจจัดการแทนผูเสียหาย

                                          บุคคลใดบางที่จะมีอํานาจจัดการแทนผูเสียหาย ประมวลกฎหมายวิธี
                 พิจารณาความอาญา มาตรา ๔, ๕ และ ๖ ซึ่งจะกลาวโดยละเอียดในบทตอไป



                             (õ) ¾¹Ñ¡§Ò¹ÍÑ¡Òà หมายความถึง “เจาพนักงานผูมีหนาที่ฟองผูตองหาตอศาล ทั้งนี้
                 จะเปนขาราชการในกรมอัยการ หรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจเชนนั้นก็ได”

                                  (กรมอัยการ ปจจุบันคือ สํานักงานอัยการสูงสุด)
                                  อํานาจหนาที่ของพนักงานอัยการ ในคดีอาญามีหนาที่เปนโจทกฟองคดีอาญา

                 ตอศาลชั้นตน ตลอดจนฟองอุทธรณ ฟองฎีกา ยื่นคํารองเปนโจทกรวมในคดีอาญาที่ไมใชความผิด
                 ตอสวนตัว ซึ่งผูเสียหายยื่นฟองแลว สั่งฟองหรือสั่งไมฟองคดีอาญา



                             (ö) ¾¹Ñ¡§Ò¹ÊͺÊǹ หมายความถึง “เจาพนักงาน ซึ่งกฎหมายใหมีอํานาจและหนาที่
                 ทําการสอบสวน”

                                  ซึ่งในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๘ ไดกําหนดหลักเกณฑไว
                 คือ

                                  ๑)  ã¹à¢μ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã ใหขาราชการตํารวจซึ่งมียศตั้งแตนายรอยตํารวจตรี
                 หรือเทียบเทานายรอยตํารวจตรีขึ้นไป มีอํานาจสอบสวนคดีอาญา ซึี่งไดเกิดหรืออางหรือเชื่อวา
                 ไดเกิดภายในเขตอํานาจของตนหรือผูตองหามีที่อยูหรือถูกจับภายในเขตอํานาจของตน (มาตรา ๑๘

                 วรรคสอง)
                                  ๒)  ã¹à¢μ¨Ñ§ËÇÑ´Í×è¹ æ ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ ปลัดอําเภอ

                 และขาราชการตํารวจซึ่งมียศตั้งแตนายรอยตํารวจตรีหรือเทียบเทา นายรอยตํารวจตรีขึ้นไป มีอํานาจ
                 สอบสวนความผิดอาญาซึ่งไดเกิดหรืออางวาหรือเชื่อวาไดเกิดภายในเขตอํานาจของตน หรือผูตองหา

                 ที่มีที่อยูหรือถูกจับภายในเขตอํานาจของตนได (มาตรา ๑๘ วรรคแรก)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23