Page 9 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 9

๒




                          ๒)  Ãкº¡Å‹ÒÇËÒ (Accusatorial System) เปนระบบการดําเนินคดีอาญา โดย
              แบงเปน ๒ สวน คือ สวนที่ทําหนาที่สืบหาความจริง ซึ่งไดแก สวนของการสอบสวนฟองรอง

              และสวนที่ทําหนาที่พิจารณาพิพากษาตัดสินคดี ในสวนของการสอบสวนฟองคดีใหเปนอํานาจ
              หนาที่ของเจาพนักงานตํารวจที่ทําหนาที่เปนพนักงานสอบสวนจะตองรวบรวมพยานหลักฐานจาก

              เจาพนักงานตํารวจที่รับเรื่องราวรองทุกข แลวผานการสืบสวนมาแลว เมื่อเห็นวาการกระทําของบุคคลนั้น
              เปนความผิดทางอาญา พนักงานสอบสวนจะรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ ทําสํานวนอธิบายเรื่องราว

              ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นแลวสงไปยังพนักงานอัยการเพื่อทําการฟองรองตอศาล เพื่อใหศาลพิจารณารวบรวม
              หลักฐานตาง ๆ วามีการกระทําความผิดจริงหรือไม และทําการพิพากษาตัดสินคดีในที่สุด

                          สําหรับประเทศไทยนั้น การดําเนินกระบวนการพิจารณาในสมัยโบรานกอนที่จะมี
              ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การพิพากษาดําเนินคดีจะมีลักษณะเปนระบบไตสวน

              เพราะผูถูกกลาวหาไมไดรับสิทธิในการตอสูคดี แตเมื่อมีการแกไขโดยใชประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
              ความอาญา ซึ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่ใชอยูในปจจุบันนั้น แสดงใหเห็นวา

              ในการดําเนินคดีอาญาโดยทั่วไปยังคงเปนระบบกลาวหาอยู เวนแตจะมีกฎหมายเฉพาะที่กําหนดไว

              อยางชัดเจน เชน พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษยฯ พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีทุจริต
              และประพฤติมิชอบฯ ที่กําหนดใหใชระบบการดําเนินคดีอาญาในแบบระบบไตสวน



              ñ.ó »ÃÐàÀ·¢Í§¤´ÕÍÒÞÒ

                          คดีอาญา แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ คดีอาญาแผนดิน และคดีความผิดอันยอมความได
                          ¤´ÕÍÒÞÒἋ¹´Ô¹ เปนคดีที่การกระทําความผิดนั้นสงผลกระทบตอความสงบเรียบรอย

              และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน เชน ความผิดตอความมั่นคงของรัฐ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตรางกาย
              เปนตน ซึ่งความผิดประเภทนี้ รัฐจําตองเขาไปควบคุมการดําเนินการเพราะสงผลกระทบตอสังคม

              โดยรวม คูกรณี อันไดแก ผูฝาฝนที่กระทําความผิดกับผูที่ไดรับผลกระทบจากการกระทําความผิดนั้น
              จะขอตกลงยินยอมกันเองเชนนี้ไมได

                          ¤´ÕÍÒÞÒÍѹÂÍÁ¤ÇÒÁä´Œ เปนคดีที่การกระทําความผิดนั้นมีผลกระทบโดยตรงกับผูถูก
              กระทํา มิไดสงผลกระทบตอความสงบเรียบรอยของประชาชนทั่วไป เชน ความผิดฐานฉอโกง ความผิด

              ฐานยักยอกทรัพย ความผิดประเภทนี้ คูกรณีสามารถทําความตกลงยอมความกันได กอนที่คดี
              จะถึงที่สุด และผลของการยอมความนี้ทําใหสิทธิการนําคดีมาฟองใหมระงับ จะนําคดีนั้นกลับมา

              ฟองรองกันใหมอีกครั้งไมได อยางไรก็ตามความผิดอาญาใดจะเปนความผิดประเภทนี้ กฎหมาย
              จะกําหนดไวอยางชัดเจน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14