Page 9 - SchoolLibrary_Handbook_ACIT_KRU_ModifiedByNilu
P. 9
คู่มือการจัดการงานห้องสมุดโรงเรียน 4
ของห้องสมุดนั้นๆ บรรณารักษ์จึงจ าเป็นต้องศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรที่มีจ าหน่ายจากเครื่องมือช่วย
เลือกทรัพยากรสารสนเทศ (Selection tools) ต่างๆ
การจัดหาทรัพยาการสารสนเทศในหลักสูตรการเรียนการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ บรรณารักษ์
ควรติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศที่ออกมาใหม่ๆ จากเครื่องมือช่วยเลือกทรัพยากร
สารสนเทศเพื่อใช้ในการพิจารณาจัดหาเข้าห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศที่มีความเหมาะสมตามหลักสูตรการ
เรียนการสอน
การจัดหาหรือการด าเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพยากรสารสนเทศ แบ่งได้เป็น 4 วิธี คือการซื้อ การ
ได้เปล่า การแลกเปลี่ยน และการผลิตขึ้นเอง นอกจากนี้ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศยังได้มีการ
น าตัวอย่างกระบวนการในการด าเนินงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของส านักฯ มาใช้เป็นตัวอย่างในการ
ด าเนินงานจัดท ากระบวนการจัดหาเพื่อให้บรรณารักษ์สามารถดูเป็นแบบอย่างและน าไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับ
หลักการบริหารในด้านการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของโรงเรียนนั้น ดังตัวอย่างภาคผนวก ข
การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศก่อนน าออกบริการทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหามาได้แล้วนั้น
บรรณารักษ์ยังไม่สามารถน าออกบริการได้โดยทันที จ าเป็นต้องจัดการต่อเนื่องเพื่อให้ทรัพยากรสารสนเทศทุก
ชิ้นมีสภาพพร้อมในระบบงานต่าง ๆ ของห้องสมุดโรงเรียน ดังต่อไปนี้
1. การลงทะเบียน
2. การจัดหมวดหมู่และท ารายการค้น
กำรลงทะเบียนหนังสือ
1. ลงทะเบียนด้วยสมุดทะเบียน
1.1 ตรวจสอบหนังสือที่ได้รับมา (ด้วยการซื้อหรือได้เปล่า) ตามรายชื่อ จ านวนฉบับ จากใบ
รายการหนังสือว่าถูกต้องและครบถ้วนหรือไม่
1.2 ประทับตราห้องสมุดแสดงความเป็นเจ้าของ
1.3 ลงทะเบียนในสมุดทะเบียน อาจจะซื้อสมุดทะเบียนส าเร็จรูป หรือจัดท าขึ้นใช้เอง ซึ่งมี
รายการดังนี้
- วัน/เดือน/ปี ที่ท าการลงทะเบียน
- เลขทะเบียน เรียงตามการลงทะเบียน โดยใช้เลข 6 หลัก เช่น 001408, 1409, 001410,
001411, 001412 เป็นต้น หรือขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูบรรณารักษ์
- ชื่อผู้แต่ง ให้ลงชื่อ ชื่อสกุล ไม่ต้องมีค าน าหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว นพ. ดร. รศ.
หรือ ผศ. เป็นต้น
- ส านักพิมพ์ ให้ลงชื่อส านักพิมพ์ที่ปรากฏในหน้าปกในหรือหลังหน้าปกของหนังสือไม่ต้อง
ใส่ค าว่า “ส านักพิมพ์”
ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี