Page 162 - ดับตัวตนค้นธรรม2566
P. 162

จริง ๆ แล้วสังเกตว่าที่จิตเราว่างได้ เพราะเราทาด้วยความรู้สึกท่ีเรียบง่าย ไม่มีเงื่อนไข การแยกรูปนาม ทาจิตให้ว่าง ให้กว้าง ให้โล่ง ให้เบา ยกจิตข้ึนสู่ ความว่างได้ง่าย เพราะไม่มีเงื่อนไขต่าง ๆ ว่าต้องเป็นอย่างน้ันต้องเป็นอย่างน้ี ถ้าให้ดีมันต้องเร็วขนาดน้ี... ไม่มีเงื่อนไขต่าง ๆ แบบนั้น มีแต่สติกาหนดรู้อยู่ กบั ปจั จบุ นั คอื กา หนดรู้ สงั เกตดู ณ ปจั จบุ นั แลว้ กห็ มน่ั ทา บอ่ ย ๆ จนชา นาญ ภาษาเราเรียกว่าชานาญ ภาษาบาลีหรือภาษาธรรมเขาเรียกว่า “เป็นวสี” วสี ก็คือความชานาญนั่นแหละ ชานาญในการทาจิตให้ว่างหรือยกจิตขึ้นสู่ ความวา่ ง ความโลง่ ความโปรง่ ความเบา อกี อยา่ งหนง่ึ กค็ อื วา่ ถา้ เราปรารถนา ที่จะให้จิตว่างเบาแบบน้ีอยู่ได้นานหรือให้เบาว่างดีขึ้นเรื่อย ๆ สังเกตไหมว่า ทุกครั้งท่ีจิตว่าง คือไม่มีเรา ไม่มีตัวตน และไม่มีความพยายามจนเกินไป แต่มีสติสัมปชัญญะรู้ชัดในสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ตรงนี้คือไม่มีเรา คาว่า “ไม่มีเรา” เป็นเรื่องสาคัญ ไม่ได้มีตัวตน ไม่ได้มีความรู้สึกว่าเป็นตัวเราของเรานี่แหละ เขาจึงว่างได้บ่อย เวลามีเราข้ึนมาแล้ว จิตก็แคบลง มีน้าหนักขึ้นมา คาถามว่า ทาอย่างไรถึงจะว่าง ? คาตอบง่าย ๆ ก็ดับความเป็นเรา เพราะมีเราเมื่อไหร่ จิตก็แคบลง มีน้าหนัก มีความทุกข์ขึ้นมา มีเวทนาทางใจเกิดขึ้นมา
แล้วจะดับความเป็นเราอย่างไร ? จะรู้ได้อย่างไรว่ามีตัวตนหรือไม่มี ตัวตน ? อย่าอนุมานว่าจิตแคบลงแล้วเรียกว่ามีตัวตนเสมอไป จะอนุมาน
154
154


































































































   160   161   162   163   164