Page 20 - ดับตัวตนค้นธรรม2566
P. 20

ความรู้สึกที่โล่งเบาท่ีทาหน้าที่รับรู้อยู่ก็เป็นนาม กายท่ีน่ังอยู่ก็จัดเป็นรูป เพราะฉะนั้น จิตกับนามเป็นอันเดียวกัน กายกับรูปก็เป็นอันเดียวกัน เป็น เรื่องเดียวกัน บางคร้ังจึงใช้คาสลับกัน เพราะฉะนั้น ความรู้สึกท่ีโล่งเบา หรือจิตท่ีโล่งเบากับตัวท่ีน่ังอยู่ เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ให้ สังเกตในลักษณะอย่างน้ี
พอดูตัวตัวก็เบาและจิตก็เบาด้วย เราจะแยกอย่างไร ? การพิจารณา การสังเกตก็คือว่า ตัวก็มีสัณฐาน มีรูปร่างที่ชัดเจนว่ามีความกว้างแค่ไหน ใหญ่แค่ไหน สูงแค่ไหน นี่คือลักษณะของตัวของรูปหรือของกายที่นั่งอยู่ ถึงแม้จะเบารูปก็ยังมีสัณฐานขอบเขตของตนเองท่ีชัดเจนอยู่ แต่จิตที่โล่งเบา จะมีลักษณะที่โยคีบอกได้ว่า จิตท่ีโล่งเบาให้กว้างกว่าตัว กว้างเท่าท้องฟ้าได้ ย้ายไปท่ีตาแหน่งต่าง ๆ ได้ จิตที่โล่งเบามาบริเวณท่ีศีรษะได้ มาท่ีหน้าได้ มา บริเวณหัวใจได้ เพราะฉะน้ัน จิตท่ีเบากว้างออกไปไม่มีขอบเขตกับตัวที่เบา แต่มีขอบเขต ตรงนี้แหละเป็นตัวบ่งบอกว่าความแตกต่าง ก็คือตรงที่มี ขอบเขตกับไม่มีขอบเขต ย่ิงไม่มีขอบเขตจิตยิ่งรู้สึกโล่งรู้สึกเบาสบาย เพราะฉะน้ัน ท่ีเม่ือกี้ถามว่าจิตที่โล่งเบาเขาสงบไหม สังเกตว่าเขาไม่มีความ ฟงุ้ ซา่ น ไมม่ คี วามคดิ รบกวน รสู้ กึ โลง่ รสู้ กึ โปรง่ รสู้ กึ เบา รสู้ กึ สบาย ยงิ่ เหน็ วา่ จิตท่ีโล่ง เบา กว้างกว่าตัวเท่าไหร่ ยิ่งรู้สึกสบาย ไม่วุ่นวาย รู้สึกสงบ น่ันเป็น
12
12


































































































   18   19   20   21   22