Page 69 - ดับตัวตนค้นธรรม2566
P. 69

ประโยชน์ของจิตท่ีโล่งเบา และผู้ปฏิบัติพึงสังเกตว่า การท่ีเราแยกรูปนาม น้อมจิตมาข้างหน้าแล้วทาจิตให้ว่าง จิตท่ีว่างก็ยังนาไปใช้งานได้ อันน้ีก็เป็น อีกเร่ืองหน่ึงที่สาคัญ การท่ีทาจิตให้ว่างให้โล่งแล้วก็ไม่ได้หมายความว่า จิตท่ีว่างโล่งแล้วจะรับรู้อะไรไม่ได้ เป็นความว่างจากอุปาทาน ว่างจากความรู้สึก ว่าเป็นเรา แต่จิตท่ีว่างโล่งเบาก็ยังสามารถทาหน้าท่ีรับรู้อารมณ์ได้ ถามว่า ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ได้อย่างไร ? อย่างเช่น เอาจิตที่โล่งเบาหรือความรู้สึกที่โล่งเบา มาท่ีมือ ก็คือรับรู้มือน่ันแหละ มือก็ว่างไป เอาความรู้สึกที่โล่งเบาไปท่ีแขน แขนก็ว่างไป เอาความรู้สึกที่โล่งเบาไปท่ีสมอง สมองก็ว่างไป แบบน้ีเป็นต้น เรารู้สึกได้ทันที ไม่ใช่ว่าจิตว่างเบาแล้วจะรับรู้อะไรไม่ได้
ทีนี้ ส่ิงที่ควรสังเกตเพ่ิมเติมก็คือว่า ขณะที่ทาให้จิตว่าง จิตโล่ง จิตโปร่ง จิตเบาได้ สติดีไหม เรารู้สึกชัดไหมว่าว่าง ชัดไหมว่าโล่ง ชัดไหมว่าเบา รู้สึกชัดไหมว่าในตาแหน่งที่เอาความเบาเข้าไป ความเป็นรูปร่างของกายส่วนนั้นหายไป ว่างไป โปร่งไป เบาไป ไม่ใช่ “คิดว่า” มันโปร่ง แต่ “รู้สึกชัด” ว่าโล่งไป โปร่งไป เบาไป การที่ผู้ปฏิบัติรู้สึกชัดอย่างน้ีน่ีแหละจะเป็นการป้องกันการคิดเอาเอง ท่ีเรามักจะสงสัยว่าเป็นการมโนเอาเองหรือเปล่า คิดเอาเองหรือเปล่า ว่าเขาว่างไปหายไป เพราะเรารู้สึกทันที สังเกตได้ทันที รู้สึกซ้า สังเกตซ้า ทาซ้า เพ่ือเป็นการทบทวนได้ จิตท่ีว่างเบาเข้าไปที่ตาแหน่งไหน เม่ือไหร่
61
61


































































































   67   68   69   70   71