Page 87 - ดับตัวตนค้นธรรม2566
P. 87

แต่ถ้าผู้ปฏิบัติหม่ันใช้บ่อย ๆ กับทุก ๆ อารมณ์ สติ-สมาธิก็จะมีกาลัง มากข้ึน ปัญญาก็จะเห็นชัดถึงความเป็นอนัตตา ความเป็นคนละส่วนระหว่าง จิตที่ทาหน้าที่รู้อารมณ์กับอารมณ์ที่ปรากฏ (รูป เสียง กล่ิน รส ที่ปรากฏ ขึ้นมา) พอเห็นอย่างนี้ก็จะทาให้คนเรารู้จักยับย้ังชั่งใจหรือหยุดตัวเอง ได้ง่ายขึ้น เมื่อไม่มีตัวตนแล้วจะทาตามใจตัวเองหรือจะทาตามเหตุปัจจัย ที่ดีที่เกิดประโยชน์สูงสุด เพราะฉะน้ัน ขอให้เราท้ังหลายผู้สนใจในธรรม ลองเอาไปฝึกปฏิบัติดูในชีวิตประจาวัน สะดวกเมื่อไหร่ก็ทาเม่ือนั้น ไม่ต้อง จากัดว่าจะต้องนั่งสมาธิหรือต้องเดินจงกรม จะทาอะไรก็เอาจิตที่ว่างเบาไป รับรู้อารมณ์นั้น เมื่อไหร่ที่มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็ลองดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใครท่ีมีเร่ืองราวที่ต้องคิดเยอะ คิดถึงเร่ืองน้ันก็ทุกข์เรื่องนี้ก็ทุกข์ ลองดู พอความคิดเข้ามาแล้วเกิดทุกข์ ขยายจิตให้กว้างกว่าเรื่องที่คิด ดับทุกข์ไปได้ พอคิดเร่ืองใหม่ขึ้นมา ทุกข์อีก ขยายจิตให้กว้างกว่าเร่ืองท่ีคิด ทุกข์ก็ดับไปอีก ความคิดแต่ละเร่ืองข้ึนมาแล้วดับให้หมดในบัลลังก์หน่ึง ๆ ก็สามารถทาได้ โดยที่ไม่ต้องไปหาสภาวะอื่นเลย ไม่ต้องไปกังวลว่าไม่ได้ดูลมหายใจ แต่ให้ดับความทุกข์น้ัน
ถ้าเราสามารถดับทุกข์ได้ทุกเรื่องท่ีคิด คิดแล้วทุกข์...ก็ดับ คิดแล้ว ทุกข์...ก็ดับ เราจะบอกตัวเองได้ว่าแล้วจะทุกข์ทาไมในเม่ือเรื่องนั้นกับจิต
79
79


































































































   85   86   87   88   89