Page 108 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 108
628
ความเบา ความสว่าง ความโล่ง จากที่โล่ง...สว่าง เข้าไปในความสว่างแล้วรู้สึกอย่างไรอีก เปลี่ยนอย่างไร ต่อ คือเจาะสภาวะ กลายเป็นเขาเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ นั่นคือการเจาะสภาวะเหมือนกัน
แลว้ ทนี รี้ วู้ า่ จติ ทเี่ ขา้ ไปแลว้ เขา... ทนี พี้ อเขา้ ไปถา้ เราสงั เกตแตส่ ภาพจติ มนั กวา้ งขนึ้ ๆ ไมเ่ หน็ อาการ เกิดดับ แต่ถ้าเข้าไปสังเกตว่าจิตที่เข้าไปในความโล่งแต่ละขณะ พอเข้าไปในความโล่งปื๊บ เขาดับก่อนไหม ก่อนที่จะโล่งขึ้น ก่อนที่จะสว่างขึ้น พอเข้าไปในความสว่างอีก มันโปร่งเบากว่าเดิม มันดับก่อนไหม ก่อนที่ จติ ทโี่ ลง่ ขนึ้ มาโปรง่ กวา่ เดมิ เปน็ จติ ดวงใหมห่ รอื จติ ดวงเกา่ อนั นสี้ งั เกตแบบนี้ คอื คอยสงั เกตไปเรอื่ ยอยา่ ง ต่อเนื่องทุก ๆ อิริยาบถ ทุก ๆ อารมณ์ มันก็กลายเป็นว่า ที่บอกว่าเราคลุกคลีอยู่กับธรรมะทุกวัน ๆ เรา ก็คลุกคลีอยู่กับอารมณ์ที่เกิดขึ้น อันนี้กลายเป็นอารมณ์กรรมฐาน เขาเรียกอารมณ์วิปัสสนาไปในตัว เห็น ไหม เพราะการดูตรงนี้เป็นอารมณ์วิปัสสนา รู้การเปลี่ยน ๆ แต่ก็สารวจเป็นระยะ มีตัวตนไหม มีความรู้สึก ว่าเป็นเราไหม
ที่ถามว่ารู้สึกเขามีเราไหม มีตัวตนไหม อันนี้สาคัญมาก ๆ เพราะเบื้องต้นที่เราจะละสักกายทิฏฐิ เราก็ต้องสังเกต อะไรที่บอกว่าเป็นเรา จิตนั้นบอกว่ามีเราไหมขณะนี้ รู้สึกไหม รู้สึกว่าเป็นเราไหม กับคิด ว่าเป็นเราไหม อันนี้คนละอย่างกันนะ ลองสังเกตให้ดีว่า รู้สึกเลยจิตตรงนี้ ขณะนี้ไม่มีความรู้สึกว่าเป็นเรา กบั คดิ วา่ ไมใ่ ชเ่ รา มาดทู สี่ ภาพจติ จติ เรารสู้ กึ วา่ รปู นามอนั นี้ จติ ...ความรสู้ กึ ในขณะนนั้ รสู้ กึ วา่ ไมม่ เี รา ไมใ่ ช่ ไม่มีตัว ถ้าไม่มีเรา ทั้งไม่มีเราและไม่มีตัวด้วย อันนั้นยิ่งดี มีตัวแต่ไม่บอกว่าเป็นเรา ไม่มีเรา อันนี้เขาเรียก ว่า พอรู้มาก ๆ เห็นว่า แล้วจิตที่ทาหน้าที่รู้ไม่บอกว่าเป็นเรา ตัวที่นั่งอยู่ไม่บอกว่าเป็นเรา สังเกตแบบนี้ซ้า ๆ เราสลบั ไปสลบั มา เพอื่ อะไร เพอื่ ใหเ้ รารตู้ วั เองมากขน้ึ วา่ เมอื่ ไหรท่ เี่ ราหลงไปยดึ ตดิ อยา่ งทบี่ อกวา่ ทฏิ ฐิ ยดึ ตดิ ว่าความเป็นเรานี่นะ ยึดติดทิฏฐิความเป็นเรา เราเป็นผู้เห็น เราเป็นผู้เป็นต่าง ๆ มันจะลดลง ๆ ไม่มีเราแล้ว
เมื่อกี้นี้ที่เราคิด เมื่อกี้นี้ที่เราคิดที่เรารู้สึกว่า เราเป็นอย่างนั้น เราเป็นอย่างนี้นี่นะ ลองดูว่าถ้าอิสระ รู้สึกเป็นอย่างไร ถ้าไม่มีเราล่ะ ไม่มีเราแล้วมีแต่สติรู้ รู้สึกเป็นอย่างไร อันไหนสภาพจิตใจเป็นอย่างไร อัน นี้คือสังเกตแบบนี้ ไม่ใช่แบบว่า...คิด เราคิดก็ส่วนหนึ่ง ความเข้าใจของเราก็ส่วนหนึ่ง อันนั้นดีแล้ว ต้องมี แนววิธีคิดทุกคน เขาเรียกว่านานาจิตตังนี่นะ มีวิธีคิดของตัวเอง แต่ถ้าเราเปิดกว้างปุ๊บ เราก็จะรู้ อันนี้ก็ดี อันนี้ก็ดี ทุกอย่างก็เลยกลายเป็นอะไรที่ดี ๆ ไปหมด ดูสภาพจิตตรงนี้ เพราะอะไร ความเป็นตัวตนเกิดขึ้น นี่นะ ความเป็นตัวตนเกิดขึ้นจะทาให้กิเลส ๒ ตัวมันตามมา คือโลภะ โทสะ เขาเรียกโมหะมันมาก่อนแล้ว ถึงมีตัวตน แต่ถ้าเรารู้สึกว่า เอ่อ! สังเกตปื๊บ เอ่อ! ไม่มีเรา พอไม่มีเราแล้วพิจารณาอย่างไรต่อ พิจารณา ตามสภาวะที่เกิดขึ้น แต่ตามสภาวะที่เกิดขึ้นเราจะรู้สึกว่า อ๋อ! เป็นแบบนี้ ๆ เราจะได้กว้างขึ้น
อย่างที่บอกเมื่อคืนว่า เมื่อคืนหรือเมื่อเช้า...ถ้าเราพิจารณาสภาวะให้ทั่ว เราก็จะแตกฉานมากขึ้น ไม่ใช่แตกฉานซ่านเซ็น อะไรก็ไม่รู้วุ่นวายไปหมดเลย แตกฉานในธรรม เข้าใจชัดขึ้น เพราะฉะนั้นนี่ ปฏิบัติ ธรรมที่บอกเริ่มจากเห็นความไม่มีตัวตน ดูบ่อย ๆ ๆ สอนตัวเอง สังเกตดูสิว่า กว่าที่เราจะละอัตตาได้นี่ นะ ใช้เวลานาน แต่พอเห็นแล้วอยากละตัวตน อยากละ อยากละอัตตา แต่พอละได้ แต่ไม่ใช้งานเขา แต่ก็ ใช้ความเคยชินก็น่าเสียดายนะ น่าเสียดาย ตรงนี้แหละ ตรงนี้เขาเรียกปัญญาอย่างหนึ่ง