Page 144 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 144

664
ความปีติเกิดขึ้น จิตก็เปลี่ยนแทนที่จะว่าง ๆ เฉย ๆ และไม่มีรสชาติ พอปีติเกิดขึ้น มีความสุข ความอิ่ม เกดิ ขนึ้ จากทวี่ า่ ง ๆ กเ็ ปน็ จติ ทวี่ า่ งกวา้ งและอมิ่ มคี วามสขุ กลายเปน็ วา่ ทา ใหส้ ภาพจติ มพี ลงั มากขนึ้ นแี่ หละ คือการดูจิตในจิต ดูสภาพจิต
ทีนี้จากจิตที่เคยกว้าง ว่าง กว้าง เบา พอจิตอิ่มขึ้น...ที่ชัด ชัดตรงไหน จิตมีพลังมีความอิ่มขึ้นก็ชัด บรเิ วณรปู อกี มนั ไมไ่ ดก้ วา้ งไมม่ ขี อบเขตเหมอื นเดมิ มาชดั เรมิ่ จากสว่ นกลางบรเิ วณหทยวตั ถเุ รา พอเขาอมิ่ ขึ้น ๆ ทาอย่างไร ก็ขยายให้กว้างออก ให้จิตที่มีความสุขกว้างออกเหมือนเดิม ตอนที่เบา ๆ พอดูว่ากว้าง ออกปื๊บ เขาจะกลายเป็นว่า จิตที่สุขนั้นกว้างจนเป็นบรรยากาศ จิตที่มีความสุขแล้วกว้างเป็นบรรยากาศ พอกว้างเป็นบรรยากาศรอบตัว ก็เหมือนกับว่าง เบา กว้างออกไป พอกว้างแบบนี้ ลองสังเกตดูว่า ถ้าจิตที่ มีความสุขกว้างรอบตัวเรา กว้างออกไป เมื่อกี้นี้จิตที่ว่างเบา เปลี่ยนเป็นจากที่ว่าง ๆ เบา ๆ กลายเป็นจิตที่ มคี วามสขุ มคี วามอมิ่ ใจ มคี วามสบายใจกวา้ งออกไปจนเปน็ บรรยากาศ พอกวา้ งออกไปจนเปน็ บรรยากาศ แล้วกลับมาสารวจตัวดูว่า ที่ตัวรู้สึกเป็นอย่างไร รอบ ๆ ตัวรู้สึกมีความสุข มีความเบาออกไป แล้วตัวที่นั่ง อยู่ในบรรยากาศของความสุขนั้นหรือเปล่า นั่งอยู่ในบรรยากาศของความรู้สึกที่สุข กลายเป็นว่า ลองดูสิ บรรยากาศนั้นเป็นบรรยากาศของสภาพจิต
ถ้าเราพิจารณาอีกอย่างหนึ่ง มองในอีกมุมหนึ่ง...รู้สึกไหม เรานั่งอยู่ท่ามกลางจิตตัวเอง เรานั่งอยู่ ทา่ มกลางบรรยากาศของจติ ทมี่ คี วามสขุ ของตวั เอง เพราะฉะนนั้ บา้ นของเราคอื อะไร บา้ นของเราทอี่ ยขู่ องเรา วิหารของเรา ก็คือสภาพจิตเราเอง จิตเรากว้างมีความสุขเป็นที่อยู่ของเรา ตรงนี้แหละมันเชื่อมโยงไปถึงว่า ถา้ ไปเปน็ พรหมกต็ อ้ งมบี รรยากาศตรงนรี้ องรบั กลายเปน็ วา่ นคี่ อื ทอี่ ยทู่ อี่ าศยั แลว้ จติ ดวงนอี้ กี จติ ทสี่ ขุ นนี่ ะ ไม่ใช่แค่เป็นบ้านและทาหน้าที่รับรู้ได้ด้วย มองอะไรด้วยความสุข หรือจิตที่สุขไปที่ภาพที่เห็น ขณะที่คิด ให้จิตที่สุขคลุมเรื่องที่เราคิด หรือกว้างกว่าเรื่องที่คิด ใช้หลักการเดียวกันกับความว่างเมื่อกี้นี้ ใช้หลักการ เดียวกันกับความว่างเมื่อกี้นี้ พอลองดูเอาจิตที่สุขมาไว้ที่หน้า ให้มันคลุมทั้งตัวเต็มทั้งรูป เวลาได้ยินเสียง ลองฟังเสียงด้วยความสุข เอาความสุขไปห่อหุ้มเสียงที่ฟัง เวลาพูดก็ให้ความสุขรู้ถึงคาพูดที่ออกไป ห่อหุ้ม คาพูดออกไป...ทาหน้าที่รับรู้ จิตที่ดีแล้วนี่แหละ
จติ ทฝี่ กึ ดแี ลว้ การทฝี่ กึ จติ เราปฏบิ ตั กิ า หนดรกู้ ารเปลยี่ นแปลง สภาพจติ ทเี่ ปลยี่ นไป สภาพจติ นนี้ ี่ แหละสงิ่ ทเี่ ราเปน็ เราเปน็ คนแบบนี้ เราเปน็ คนทมี่ จี ติ ใจแบบนี้ แตอ่ กี อยา่ งหนงึ่ ทเี่ ราสงั เกตกค็ อื ถา้ ละเอยี ด ขึ้น วิถีจิตมันเป็นทาหน้าที่รู้ว่าสุขแล้วก็ดับไป ที่เหลืออยู่คือความสุข ดับไปแล้วสุขมากขึ้น นั่นคือตัวสภาพ จิตที่ตั้งอยู่ ตรงนี้ที่เรียก คือเป็นเวทนา เป็นสุขเวทนาทางจิต แต่จิตก็สามารถทาหน้าที่รับรู้ จิตที่มีความสุข นั่นแหละทาหน้าที่รับรู้ได้ เพราะเขาไม่ได้แยกว่า จิตที่สุขแล้วทาหน้าที่ไม่ได้ จิตสุขเจตสิกก็สุข เจตสิกสุข จิตก็สุข เจตสิกเป็นอุเบกขา จิตก็เป็นอุเบกขา มันเป็นองค์ประกอบที่ไปด้วยกัน เป็นลักษณะเกิดขึ้นพร้อม กันดับพร้อมกัน อาศัยอารมณ์เดียวกันเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไปแบบนี้
ทีนี้ที่อาจารย์ให้เราปฏิบัติ และให้สังเกตว่าบรรยากาศสภาพจิตเป็นอย่างไร ให้จิตให้กว้างจนเป็น บรรยากาศ ทีนี้บรรยากาศนี่นะ ถามว่าจะต้องกว้างแค่ไหน กว้างแค่ไหนถึงจะดี ไม่ต้องกว้าง กว้างแค่ไหน


































































































   142   143   144   145   146