Page 172 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 172

692
เพราะฉะนั้นถ้าสังเกตแบบนี้ เราจะรู้ว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่ใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้ให้ถึงอาการ สภาวะจะ เปลยี่ นอยา่ งไร ในการกา หนดรอู้ าการทเี่ ปลยี่ นแปลง ไมใ่ ชด่ คู รงั้ เดยี วแลว้ กผ็ า่ นไป ไมใ่ สใ่ จ สมมตวิ า่ อาการ เกิดดับ มีอาการแว็บ ๆ ๆ ๆ กระเพื่อมไปเรื่อย ๆ เราไปดูที่แว็บแรกแล้วรู้สึก พอไปรู้ที่แว็บแรก อ๋อ! เห็น แล้ว มันก็เป็นแว็บ ๆ ๆ เราก็นิ่งดูอาการแว็บ ๆ เฉย ๆ แบบนี้ อาการแว็บ ๆ ก็เลื่อนไปเรื่อย ๆ เลื่อนแล้ว เปน็ อยอู่ ยา่ งนนั้ นงิ่ ตามรู้ ดไู ป ตามไป แตท่ นี สี้ งั เกตไหมวา่ แวบ็ แรกทเี่ กดิ ขนึ้ ตอนทจี่ ติ เราเขา้ ไปรู้ มอี าการ แว็บหมดไป แล้วจิตถอยกลับมา อาการแว็บต่อไป ขณะต่อไปเข้าไปใหม่ เข้าไปรู้อาการที่แว็บขณะต่อไป เข้าไปรู้แว็บต่อไป อาการเกิดดับที่แว็บในขณะต่อไปนั้น ต่างจากเดิมอย่างไร
ที่เจตนาที่จะแว็บแล้วเด็ดขาดไหม ดูแว็บแล้ววาบขึ้นมา สว่างมากขึ้น หรือแว็บเงียบ หรือแว็บไป บางลง บางแล้วหายอย่างไร เลือนแล้วดับอย่างไร เลือนแล้วหายอย่างไร เราไม่ได้ไปบังคับ แต่ตามสังเกต ใหช้ ดั นนั่ คอื การตามกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั เรารถู้ งึ ความแตกตา่ ง ความแตกตา่ งทงั้ ลกั ษณะการเกดิ ความ แตกต่างทั้งลักษณะการตั้งอยู่ ความแตกต่างทั้งลักษณะการดับไป ทั้ง ๓ อย่างนี้ ทั้ง ๓ ขณะนี้ บางครั้งไม่ ได้เกิดพร้อมกัน บางครั้งไม่ได้เห็นพร้อมกันในอารมณ์เดียว
อันนี้คือตัวสาคัญว่า บางขณะเห็นแต่เกิดขึ้น ๆ ๆ เราก็ต้องรู้ ผู้ปฏิบัติจะต้องใส่ใจกาหนดรู้ถึงการ เกิดให้ชัด เข้าไปให้ถึงอาการจุดเกิด ๆ ๆ ถ้าเห็นการตั้งอยู่ ๆ ไม่เห็นการดับ ลองดูว่า ที่ตั้งอยู่นี่นะ พอไป แตะถูกอาการที่ตั้งอยู่ แต่ละครั้งเป็นอย่างไร ความรู้สึกเข้าไปถึงอาการที่ตั้งอยู่แต่ละขณะ เข้าไปถึงแล้วดู ว่าเขาเปลี่ยนอย่างไร เปลี่ยนหรือไม่เปลี่ยน ถ้ารู้สึกว่าตั้งอยู่และเป็นของใหม่ไม่ใช่ของเก่า ไม่ใช่อารมณ์เก่า ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็จะเห็นว่า ถ้าสติกาหนดเข้าไปกาหนดรู้เข้าไปถึง จะเห็นถึงการเกิดการดับของอารมณ์นั้น เกิดขึ้นได้ในขณะต่อ ๆ ไป
เพราะฉะนั้นการใส่ใจ การสังเกตการกาหนดสภาวะ คือต้องใส่ใจให้แยบคาย อย่าคิดว่าเห็นเป็น แบบนี้แล้วจะเป็นแบบนี้ ทีนี้พอกาหนดรู้ไป พอตั้งใจมากขึ้น ใส่ใจมากขึ้น ลองดูว่าสภาพจิตเป็นอย่างไร ถามว่ารู้สึกอย่างไร รู้สึกไหมว่า...นิ่งขึ้น ต้องนิ่งขึ้น ต้องใส่ใจ ขณะที่ใส่ใจมากขึ้นจิตต้องนิ่งขึ้น จริง ๆ แล้ว การที่เราใส่ใจมากขึ้น ตั้งใจมากขึ้น จิตต้องนิ่งขึ้นโดยปริยาย หรือสมาธิก็ต้องเพิ่มขึ้นโดยปริยาย แล้วเรา จะเห็นว่า การใส่ใจอารมณ์ ใส่ใจรายละเอียดของสภาวะมากขึ้น เพิ่มทั้งสติแล้วก็สมาธิ สติมีความรู้ชัดใน อารมณ์ที่เกิดขึ้น สมาธิคือความตั้งมั่น จิตตั้งมั่นขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเบาขึ้นตั้งมั่นนิ่งขึ้นเบาขึ้นใสขึ้น นั่นก็คือ ลักษณะของความใสความเบาความสว่างที่เพิ่มขึ้น ก็คือสติมีกาลังมากขึ้นนั่นเอง
เมอื่ สตมิ กี า ลงั มากขนึ้ เบาขนึ้ หรอื ตงั้ มนั่ ขนึ้ ใสขนึ้ อาการเกดิ ดบั จากทเี่ หน็ แวบ็ อยา่ งเดยี ว ๆ กจ็ ะเหน็ ว่าอาการแว็บแต่ละครั้งนี่นะ ดับแบบเกลี้ยงไป ดับเด็ดขาด หรือดับแบบแว็บแล้วเลือนบาง แล้วก็หายไป ตรงที่เลือนบางแล้วหาย บางทีต้องตามให้จบ ในบางขณะ ถ้าไม่สังเกตดี ๆ นี่นะ มีอาการเลือนแล้วหายไป ว่าง ๆ ไป เฉย ๆ แต่ถ้าสังเกตดี ๆ มีสติเกาะติดไปกับอาการ บางทีเลือนบางหายไป เงียบไปนิดหนึ่ง ก็จะ รู้สึก...ความรู้สึกวู๊บไป...ดับตาม เหมือนหายไปว่างไปสักระยะหนึ่ง ความรู้สึกจึงดับปึ๊บไป นี่คือลักษณะ ของการสังเกตสภาวะให้ต่อเนื่อง


































































































   170   171   172   173   174