Page 228 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 228
748
พอมีความคิด เราดูสภาพจิตแบบนี้ เวลาสภาพจิตที่ผ่องใสเป็นอย่างไร ถ้าเคยเห็นว่าจิตมีความ ผ่องใส ผ่องใสชัด เวลาผัสสะกระทบเข้ามาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ความผ่องใสลดลงก็จะเห็นชัด ความขุ่นมัวเพิ่มขึ้นก็จะเห็นชัด ความทุกข์เข้ามาก็เห็นได้ง่าย ความวุ่นวายเกิดขึ้นก็รู้เร็ว แล้วที่ตามมา ก็คือว่า แล้ววิธีดับ ละความทุกข์ ความวุ่นวาย ความขุ่นมัวได้อย่างไร ความทุกข์เกิดขึ้นมา แล้วดับได้เร็ว กว่าเดิมไหม อันนี้คืออย่างหนึ่ง
ไม่ใช่แค่พยายามทาจิตให้ผ่องใสอย่างเดียว ไม่ได้หมายความว่า แค่ทาใจให้ว่างอย่างเดียว รักษา จิตที่ว่างอย่างเดียว เพราะอะไร จิตที่ว่าง ว่างได้เพราะอะไร เพราะอกุศลตรงนี้ไม่เกิดขึ้น พอผัสสะขึ้นมา แล้วนี่นะ มีความทุกข์ขึ้นมา แล้วดับได้เร็วขึ้นไหม บางครั้ง การดับอกุศลตรงนี้ก็ต้องมีเจตนา มีเจตนาที่ เกิดขึ้น ที่จะละ ที่จะวาง ไม่ใช่แค่เจตนาที่จะรู้ ดูอย่างเดียว ไม่ใช่แค่รู้อย่างเดียว ตรงนี้แหละ ทุกข์เป็นสิ่งที่ ต้องกาหนดรู้ เวลาทุกข์ขึ้นมา เราก็รู้ว่าทุกข์ แล้วก็ทุกข์อยู่กับเขาตั้งนาน โดยที่ไม่มีเจตนาที่จะละทุกข์ หรือ ดับทุกข์ ก็เลยไม่รู้ว่าทุกข์ดับแล้วเป็นอย่างไร ดับตอนไหนไม่รู้ อยู่ ๆ ก็หายไปแล้ว อันนี้คืออย่างหนึ่ง
พอทุกข์ดับไปแล้ว รู้สึกเป็นอย่างไร...เฉย ๆ ไม่ได้รู้ว่าดีกว่าไม่ทุกข์ไหม คือตรงนี้คืออย่างหนึ่ง บางครั้งถ้าเรารู้ คือความชัดเจนแบบนี้ เวลาทุกข์แล้วจิตไม่ดีแบบนี้ เวลามีความทุกข์ขึ้นมา จิตไม่ดีแบบนี้ เวลาความทุกข์หายไป จิตใจรู้สึกดีกว่าไม่ทุกข์ ดีกว่าไม่ทุกข์...แต่ธรรมดา ทาอย่างไร ความไม่ทุกข์ตรงนี้ ถึงจะมีกาลังมากขึ้น หรืออยู่ได้นานขึ้น หรือใช้งานได้ดีขึ้น ตรงนี้ถ้าเราปล่อยไปตามปกติ เขาเรียกปล่อย ไปตามยถากรรม เป็นปกติของคนเราว่า เดี๋ยวทุกข์เดี๋ยวไม่ทุกข์ เดี๋ยวทุกข์เดี๋ยวไม่ทุกข์ เวลาไม่มีอารมณ์ ต้องรับรู้ ไม่มีเรื่องเข้ามารบกวน ก็เหมือนไม่ทุกข์แล้ว ถ้าปล่อยไปอย่างนั้น ถามว่าจาเป็นต้องปฏิบัติไหม ก็คงไม่ต้องนะ ถ้าปล่อยแบบนั้น
คนเรากไ็ มไ่ ดท้ กุ ขต์ ลอดเวลา ไมไ่ ดต้ ลอดเวลา ไมไ่ ดต้ ลอดวนั ในแตล่ ะวนั บางครงั้ อยา่ งทเี่ คยบอก แลว้ วา่ ความทกุ ขป์ ระมาณ ๑ ชวั่ โมง แตส่ ลบั กนั ครงั้ ละ ๑๐ นาที เราจะรสู้ กึ เลยวา่ ทกุ ขท์ งั้ วนั จะรสู้ กึ วา่ ทกุ ข์ ทั้งวัน เขาสลับกันครั้งละ ๑๐ นาที เหมือนชั่วโมงนี้ ทุกข์มา ๑๐ นาที แล้วก็ผ่านไป แล้วชั่วโมงหน้า พอเริ่ม ชวั่ โมงหนา้ มาอกี ๑๐ นาที ยงิ่ ถา้ เขาเกดิ ชว่ งเวลาเดยี วกนั ชว่ งแรกของชวั่ โมง ทกุ ๆ ชวั่ โมง เราจะรสู้ กึ วา่ ทกุ ข์ ตลอดเลย พอเริ่ม ๑ ชั่วโมงใหม่ ก็ทุกข์ทุกครั้ง จะเป็นความรู้สึกว่าทุกข์นาน หรือทุกข์บ่อย หรือทุกข์ตลอด
แต่ถ้าเขาไปเกิดท้าย ๆ ชั่วโมง ต้นชั่วโมงกับท้ายชั่วโมงของชั่วโมงถัดไป ก็จะรู้สึกว่าความทุกข์ห่าง หน่อย นี่คืออย่างหนึ่ง แต่ในขณะเดียวกัน ความทุกข์เกิดขึ้นมาครั้งละ ๑๐ นาที เท่านั้นเอง แต่ทาไมความ รู้สึกเรา ความรู้สึกของเรา จึงรู้สึกว่าเป็นความทุกข์ที่ยาวนาน และตลอดเวลา เป็นความทุกข์ที่ยาวนานและ ต ล อ ด เ ว ล า เ พ ร า ะ จ ติ ท ไี ่ ม เ่ ห น็ ค ว า ม ท กุ ข น์ นั ้ ด บั ไ ป จ งึ เ ป น็ ส ญั ญ า ท เี ่ ก า ะ เ ก ยี ่ ว เ ป น็ ส ญั ญ า ท เี ่ ก า ะ เ ก ยี ่ ว ส ญั ญ า นี้ไม่เห็นอะไรขาดไปดับไป จึงยังรู้สึกเป็นเรื่องเดียว เป็นอารมณ์เดียวอยู่เรื่อย ๆ ความทุกข์จึงยาวนาน จึง ทาให้ไม่เห็นว่า ช่วงที่ไม่ทุกข์นี่นะยาว ช่วงที่ไม่ทุกข์นี้กว้างมาก
เพราะฉะนั้น การพิจารณา การดูสภาพจิตตนเองบ่อย ๆ เราจะเห็นทั้ง ๒ ส่วน ตอนที่ทุกข์ก็เห็น ตอนที่ไม่ทุกข์ก็เห็น ตรงนี้หมายถึงว่า การที่สังเกตบ่อย ๆ ก็คือการมีสติอยู่เนือง ๆ อย่างต่อเนื่อง พิจารณา