Page 78 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 78
598
พอสังเกตแบบนี้บ่อย ๆ เวลามีผัสสะกระทบเกิดขึ้นมา จิตรู้สึกเฉย ๆ เคยเห็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นน่ายินดี กลับรู้สึกสงบนิ่ง ไม่รู้สึกยินดียินร้ายกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น
แต่บางทีพอไม่ได้สังเกตว่า ตอนที่ไม่ยินดีไม่ยินร้ายกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น สภาพจิตขณะนั้นเป็น อย่างไร บางครั้งเราใช้ความคิดว่าไม่ยินดียินร้ายมันก็เป็นอุเบกขา...วางเฉย เป็นความเฉยวางเฉยที่เจตนา ที่จะวางเฉย หรือเป็นเพราะจิตเขามีความสงบมีอุเบกขาอยู่แล้ว จึงไม่รู้สึกกับอารมณ์ ผัสสะที่กระทบ นี่คือ การสงั เกต วา่ การดสู ภาพจติ ของเราในการกา หนดอารมณต์ า่ ง ๆ จะไดร้ วู้ า่ เหตแุ ละปจั จยั ทที่ า ใหส้ ภาวธรรม อารมณ์เหล่านั้นกระทบหรือไม่กระทบจิตใจ...เป็นอย่างไร ทีนี้การสังเกตแบบนี้บ่อย ๆ เราก็จะเห็นว่าตอน ทจี่ ติ มคี วามสงบแบบนี้ อารมณไ์ มก่ ระทบ พอยงิ่ ดไู ปสภาพจติ จากทเี่ ปน็ อเุ บกขานนี่ ะ อเุ บกขาจติ กย็ งั มกี าร เปลี่ยนแปลง จิตที่อุเบกขา อุเบกขากว้างหรืออุเบกขาแคบ ตรงนี้เราก็จะเห็นอีกว่า บางครั้งเราพยายามวาง เฉยกับอารมณ์ภายนอก อยากให้มันเฉย ๆ แบบนี้เหมือนเดิม อะไรเกิดขึ้นมาก็พยายามที่จะเฉย ทาจิตให้ เฉย ไม่ใส่ใจ พยายามจะปล่อยวาง วางเฉยกับอารมณ์อันนั้น
ลองสังเกตดูดี ๆ ว่าการที่ขณะที่พยายามที่จะวางเฉยกับความรู้สึกที่เฉย กับอารมณ์ที่เกิดขึ้นก่อน หนา้ นตี้ า่ งกนั อยา่ งไร ตอนทพี่ ยายามจะวางเฉยกบั ดจู ติ ทมี่ นั สงบ มคี วามตงั้ มนั่ และกวา้ ง รสู้ กึ เฉยกบั อารมณ์ ที่เกิดขึ้น จิตที่สงบตั้งมั่นและกว้างนี่นะ ไม่ยินดียินร้ายกับอารมณ์ภายนอก กับการที่พยายามที่จะเฉยนี่ นะ มีจุดไหนที่มีความแตกต่างกัน สภาวะเหล่านี้ต่างกันอย่างไร เมื่อมีความรู้สึกพยายามที่จะเฉย บางครั้ง ถ้าสังเกตดี ๆ จะกลายเป็นการปฏิเสธอารมณ์ไปในตัวก็มี การไม่ใส่ใจอารมณ์เหล่านั้นเพราะไม่ปฏิเสธนะ เพราะไปปฏิเสธอารมณ์เหล่านั้นก็มี ไม่ใส่ใจก็มี แล้วเราพยายามที่จะยึดความเฉยก็มี...เห็นไหม กลายเป็น ว่าพยายามที่ยึดความเฉย พยายามที่จะปฏิเสธอารมณ์ภายนอก กับการที่รู้สึกว่าจิตที่เฉยนี่นะ ยิ่งดูเข้าไป จิตที่เฉย จิตที่ว่าง ว่างจากตัวตน จิตที่สงบ เห็นจิตที่สงบแล้วว่างจากตัวตน มีความตั้งมั่น ทาให้วางเฉย กับอารมณ์ข้างนอกได้ โดยไม่ต้องพยายาม นั่นเป็นตัวบอกว่าการพัฒนาจิตของเรา
การทเี่ รากา หนดรแู้ บบนี้ ดสู ภาพจติ ดสู ภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ มกี ารเปลยี่ นไป สภาพจติ ทเี่ ปลยี่ นไป จติ ที่ดีแล้วทาหน้าที่ของตนเอง โดยไม่ต้องพยายามที่จะใช้ เหมือนที่บอกว่าเมื่อจิตมีความสงบ มีความตั้งมั่น และกวา้ ง จงึ วางเฉยกบั อารมณน์ นั้ ได้ โดยทไี่ มต่ อ้ งพยายาม นนั่ คอื จติ ทมี่ กี า ลงั แบบนนั้ ทา หนา้ ทขี่ องตนเอง เพราะฉะนั้นสิ่งที่ทาคือ ทาจิตดูจิตที่ดีแล้วนี่นะให้ชัดขึ้น หน้าที่คือกาหนดดูจิตตรงนี้ที่มีการเปลี่ยนไป และ จิตที่วางเฉยทาอย่างไร ทาไมถึงอยู่ ๆ จิตถึงวางเฉยกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น ตรงนี้แหละที่ต้องรู้ ไม่ใช่ว่าอยู่ ๆ ก็พยายามอยากให้เฉย ถ้าเราไม่รู้เหตุที่มาที่ไปนะ เหมือนเราไม่รู้วิธีทา ไม่รู้มรรค เราก็จะอยู่ติดเหมือนเดิม เดี๋ยวก็วนไปอยู่อย่างนี้ อยากให้เป็นอย่างนี้ อยากให้เป็นอย่างนั้น พออยากให้เป็นก็ไม่เป็น ตอนไม่อยาก ให้เป็นก็เป็น มันเหมือนกับว่า ที่เป็น...เป็นอย่างไร ทาไมถึงเฉยได้ ตอนที่อยากให้เป็นกลับไม่เป็น
บางทีเราก็อนุมานคิดเอาเองว่า นี่เป็นเพราะความอยาก...มีตัวตนนะ เป็นการคิดที่ถูกบ้างไม่ถูก บ้างนะ ถูกบ้างผิดบ้าง เป็นการทาความพิจารณาโดยที่ไม่ได้สังเกตสภาพจิตจริง ๆ แต่คิดว่า เขาเรียก...คิด ว่า คิดว่าน่าจะเป็นอย่างนั้น น่าจะเป็นอย่างนี้ แต่สภาวธรรม ธรรมะ สภาพจิต อาการพระไตรลักษณ์เป็น