Page 84 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 84

604
จะเห็นว่า การกาหนดรู้อย่างนี้นี่นะ เป็นการกาหนดรู้ แบบไม่ใช่ว่ามีความวิตกกังวลว่า ทาไมเป็นแบบนั้น อยากให้เป็นแบบนี้ เล่าแบบ...อาการที่เกิดขึ้น เวทนาที่เกิดขึ้นเป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์อย่าง หนึ่งของวิปัสสนา แล้วเราจะรู้ว่าเรากาหนดเวทนาได้อย่างสบายใจ แต่ไม่ใช่ไม่ปวดนะ รู้ว่าปวดแต่กาหนด ได้อย่างสบายใจ คาว่าสบายใจในที่นี้ไม่ประกอบด้วยโลภะ ไม่ประกอบด้วยโมหะ ไม่ประกอบด้วยโทสะ ไม่ใช่ไปหงุดหงิด เวทนาไม่ดับสักทีหนึ่ง ยิ่งดูยิ่งแรงขึ้น เราก็หงุดหงิดขึ้นมา
ตรงทหี่ งดุ หงดิ ขนึ้ มาเปน็ อะไร กลายเปน็ ตวั โทสะ เปน็ ปฏฆิ ะขนึ้ มา ถา้ มาก ๆ กจ็ ะกลายเปน็ ตวั โทสะ เกิดความกระสับกระส่ายกระวนกระวายขึ้นมา แต่ถ้ารู้สึกกาหนดรู้ ว่าเวทนานั้นเป็นแค่อารมณ์กรรมฐาน อารมณห์นงึ่จี๊ดขึ้นมาแลว้ยิ้มได้ปวดมากเลยแทบทนไมไ่ด้แทนที่จะรสู้กึกระสับกระสา่ยว่นุวายหงุดหงดิ กับเวทนา กลับมีความรู้สึกยิ้มได้ สนุกได้ มีความเพลิดเพลินกับการพิจารณาธรรม เขาเรียกว่าเพลิดเพลิน ในธรรม
พิจารณาไป อ๋อ!แบบนี้ก็มี แบบนี้ก็มี จิตไม่มีอกุศล ไม่มีความขุ่นมัวขึ้นมา กาหนดรู้เป็นระยะ ๆ ไป อาการแบบไหนก็เป็นแบบนั้น กลายเป็นว่ากาหนดรู้ด้วยปัญญา...ตรงนี้ ปัญญาตรงไหน ปัญญาคือการ กา หนดรอู้ ารมณเ์ หลา่ นนั้ ดว้ ยความรสู้ กึ ไมม่ ตี วั ตนไมม่ เี รา กา หนดรดู้ ว้ ยความเขา้ ใจ นนั่ คอื อารมณ์ นนั่ คอื สภาวธรรมอย่างหนึ่ง ทีนี้ลองดูว่าเราก็ใช้แบบนี้กับทุก ๆ อารมณ์นะ กับทุก ๆ อารมณ์ กับทุก ๆ สภาวะที่ เกิดขึ้น ที่ว่าเป็นลมหายใจ เป็นเวทนา เป็นความคิด เป็นต้นจิต เป็นอิริยาบถย่อย เป็นสภาพจิต เอามาใช้ แบบเดียวกัน คือพอใจที่จะกาหนดรู้
แล้วก็พอใจที่จะกาหนดรู้ ยิ่งรู้แบบนี้ การยิ่งพอใจกาหนดรู้อาการที่เกิดขึ้น เกิดดับแบบนี้ ลองดู สภาพจิตใจเป็นอย่างไร ยิ่งดูไปจิตยิ่งเบิกบาน ยิ่งผ่องใสนะ ยิ่งดูไปยิ่งเบิกบานยิ่งผ่องใสสะอาดขึ้น ถาม ว่าจิตที่เบิกบานที่ผ่องใส...ดีไหม นี่คือการดูสภาพจิตเอง สภาพจิตไม่ว่าจะเปลี่ยน เดี๋ยวเฉย เดี๋ยวสงบ เดี๋ยวซึม เดี๋ยวแห้งแล้ง เดี๋ยวห่อเหี่ยว อาการเหล่านั้นก็เป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่ง พอใจที่จะรู้...ดูไป อ้าว! ตอนนี้เราเริ่มห่อเหี่ยว เริ่มแห้งแล้ง...ดูสิ ไปดูสิความแห้งแล้งมันดับเกิดขึ้นได้อย่างไร ดูสิเขาดับอย่างไร ไปรู้แล้วดับแบบไหน รู้แล้วดับอย่างไร พอใจ...เจตนาตรงนี้แหละ
พอใจที่จะรู้ตรงนี้คืออะไร เมื่อไหร่ที่เรามีปัญญา ตรงนี้เป็นทิฏฐิ เป็นปัญญา เป็นความรู้ เป็นความ เข้าใจ เป็นความพอใจ ความเห็นที่ถูกต้องว่า นี่คือสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น ที่ผู้เจริญกรรมฐานควร พิจารณาถึงความเป็นไป ถึงอาการพระไตรลักษณ์ เพื่อความชัดเจน เพื่อความเจริญงอกงามในธรรม เพื่อ การชาระ เพื่อความไม่หลงในอารมณ์เหล่านั้น เพื่อไม่ให้อารมณ์เหล่านั้นมาเป็นเหตุบีบคั้นจิตใจ ให้เกิด ความทุกข์ขุ่นมัวเศร้าหมองนั่นเอง เพราะฉะนั้นจะเห็นว่าสภาวธรรมที่เกิดขึ้นนี่นะ ทุก ๆ อาการที่เกิดขึ้น เป็นสภาวธรรมที่ผู้ปฏิบัติโยคีพึงพิจารณา นี่คือพูดถึงลักษณะสภาวธรรมล้วน ๆ
แตถ่ า้ เราพจิ ารณาการทา ความเขา้ ใจตรงนี้ เราเขา้ ใจอะไร เหน็ อาการเหน็ ความชอบไมช่ อบของตนเอง เหน็ อาการดบั ของความชอบความไมช่ อบของตนเอง เหน็ ความพอใจไมพ่ อใจเกดิ ขนึ้ ของตนเอง อารมณข์ อง คนเราจิตของคนเราก็ประเภทเดียวกัน เห็นอะไรทาไมถึงพอใจไม่พอใจ ทาไมถึงชอบถึงไม่ชอบ เพราะการ


































































































   82   83   84   85   86