Page 93 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 93
613
เวลาฟังเสียงนี่นะ เรามีอัตตา เวลาการรับรู้อารมณ์ ขณะนี้รับรู้แบบไม่มีตัวตน ขณะนี้รับรู้แบบมี ตัวตน ทาไมถึงสาคัญว่า การรับรู้มีตัวตนหรือไม่มีตัวตน เพราะมันเกี่ยวกับจิตเรา มีตัวตนก็ทาให้จิตขุ่น มัว เศร้าหมอง เป็นอัตตาเหมือนกัน มีอุปาทานเกิดขึ้นได้ง่าย พอไม่มีตัวตน ทาให้จิตอิสระ เพราะฉะนั้น การดูจิตในจิตจึงเป็นเรื่องสาคัญ เพราะเราปฏิบัติธรรมเพื่อชาระจิต เพื่อละความทุกข์ อะไรทุกข์ ก็จิตนั่น แหละทุกข์ เพื่อดับความทุกข์ เพื่อความอิสระ เพื่อความสุข เพราะฉะนั้นการที่ดูจิต จึงเป็นสิ่งสาคัญ
เพราะฉะนั้นกาย เวทนา จิต ธรรม เป็นองค์ธรรมของกรรมฐาน ที่เราต้องสังเกต ไม่ใช่รู้กายอย่าง เดียว ถึงแม้แต่รู้กายอย่างเดียว จิตก็ยังทางาน ยังรู้สึกได้ เหมือนเรา...ที่รู้อาการทางกาย รู้อาการเดินไป เรื่อย ๆ ๆ เดินจงกรม เดินไป เดินไป เดินมา สนใจแต่อาการกายอย่างเดียวนะ สนใจอาการเดินอย่าง เดียว แต่สิ่งหนึ่งที่เรารู้สึกได้ คือยิ่งเดินจิตยิ่งตั้งมั่นขึ้น สงบขึ้น ตื่นตัวขึ้น อย่างไรก็รู้สึก...เพราะถ้าจิตดวง นั้นเกิดขึ้น เหมือนเราเดินไป ยิ่งเดิน ยิ่งคิด ยิ่งเดิน ยิ่งคิด ยิ่งฟุ้งซ่านไปอีก นั่นคือ...อย่างไรก็รู้ จิตไม่สงบ เราก็ต้องรู้ทันที นี่คือลักษณะของจิต
แต่การที่แยกแบบนี้ การที่แยกจิต การดูจิตในจิต ทีนี้พอเห็นจิตแบบนี้ จิตเราว่างปึ๊บ เราแยกจิต กับรูป จริง ๆ แล้ว ต้องใช้ให้ครบ ใช้ให้ครบ ๆ อะไร ครบทั้งองค์ ๕ คือขันธ์ทั้ง ๕ แยกขันธ์ทั้ง ๕ เหมือน เราแยกกายกับจิตออกมา จิตกับกายเป็นคนละส่วนกัน แล้วรู้สึกสบาย จิตกับความคิดเป็นคนละส่วนกัน จิตกับเวทนา จิตกับเวทนาเป็นส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน เคยพิจารณาโดยองค์รวมไหม...ไม่ เรา พิจารณา เดี๋ยวปวด เดี๋ยวคิด เดี๋ยวปวด เดี๋ยวคิด กลายเป็น เดี๋ยวปวด เดี๋ยวคิด เดี๋ยวก็อึดอัด กลาย เป็น...คือเรารู้แค่อาการแบบนี้
ถ้าพิจารณาถึงจิตที่ทาหน้าที่รู้ กับความปวด เขาเป็นคนละส่วนกัน จิตที่ทาหน้าที่รู้ กับความคิดก็ เปน็ คนละสว่ นกนั จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ กบั กายเปน็ คนละสว่ นกนั แลว้ แลว้ จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ กบั ความอดึ อดั ความ ขัดเคือง เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน สังเกตแบบนี้ซ้า ๆ ๆ ลองดูสิ...ไล่ดู ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจของเรา เห็นเป็นคนละส่วน...คนละส่วน จิตเป็นคนละส่วนกับอาการ แต่ละส่วนตรงนั้น ลองดู รู้สึกเป็น อย่างไร...ไล่สภาวะ พิจารณาตรงนี้ การที่เห็นตรงนี้ แล้วเราก็จะเห็นว่า พอเวทนาเกิดขึ้น ตรงไหนที่บอก ว่าเป็นเรา มีความคิดเกิดขึ้น อันไหนที่บอกว่าเป็นเรา มีรูป เวทนา สัญญา สังขาร การปรุงแต่งเกิดขึ้น... บอกว่าเป็นเรา?
การที่พิจารณาอย่างนี้...เห็นแล้ว เราจะคิดว่าอย่างไร ขณะที่เห็นอย่างนี้นี่นะ เราจะรู้วิธีการ...เรา จะวางจิตอย่างไรด้วย เราจะวางจิตหรือทาจิตอย่างไร กับอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา เพราะฉะนั้น การดูจิตในจิตจึงเป็นสิ่งสาคัญ การที่คอยสังเกต เราจะรู้ว่า ครูบาอาจารย์ท่านจะสอนดูรูป ดูนาม ดูกาย ดูจิต ดูจิตในจิต บางทีก็ดูแต่จิตอย่างเดียว สนใจจิตให้เยอะ แล้วก็คือ เพื่ออะไร? เพื่อเราจะเห็นว่าเวลา อกุศลเกิด ก็เกิดที่จิตเรา ความรู้สึกดี...ไม่ดี ก็เกิดที่จิตที่เรารู้สึกได้
ทีนี้...ว่าแล้ว พูดไปพูดมาก็จะขยายไปเรื่อย ๆ แล้วโยคีจะไม่เห็นสภาวะตัวเอง อาจารย์พูดอะไรก็ ไม่รู้ พอพูดไปแล้วโยคีไม่เห็นจิตตัวเอง ก็เริ่มจะต้องถอยกลับมา ทีนี้ลองดูจิต...ขณะนี้ กลับมาดู ทีนี้ ทีนี้