Page 95 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 95

615
ลองกลับไปคิดดู การที่เราทาจิตให้ว่างให้เบาได้อย่างนี้ คิดว่าตัวเองเก่งไหม ตัวเองทาได้ไหม เอ่อ! เราก็เก่งเหมือนกันนะ เห็นอนัตตาได้ เห็นความไม่มีตัวตน เห็นความว่าง เห็นความไม่มีกิเลส แม้ชั่วขณะ หนึ่งก็ตาม เห็นความไม่มีตัวตน เห็นความไม่มีกิเลส แม้ชั่วขณะหนึ่ง...ยังรู้สึกเป็นแบบนี้
ทนี กี้ ารดจู ติ การพฒั นาจติ ตรงนี้ เราจะพฒั นาไดอ้ ยา่ งไร การทเี่ ราพฒั นาจติ อาศยั อารมณท์ งั้ ๔ อยา่ ง อย่างที่บอก กาย เวทนา จิต ธรรม เพราะฉะนั้น เวลาเราปฏิบัติธรรม ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทา พูด คิด มีสติกาหนดรู้อยู่กับอารมณ์ปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง แล้วเรากาหนดรู้อาการเกิดดับ ยิ่งชัด ยิ่งชัดสติยิ่งดี อาการเกิดดับก็ยิ่งชัด ยิ่งสนใจอาการเกิดดับมากขึ้น สติก็ดีขึ้น ยิ่งใส่ใจอาการเกิดดับที่ละเอียดมากหน่อย สติเราก็จะดีขึ้น ละเอียดขึ้นไปด้วยในตัว เพราะฉะนั้น การสนใจอาการเกิดดับตรงนี้แหละ เป็นการพัฒนา จิตตนเอง พัฒนาจิต ทาให้จิต สมาธิแก่กล้าขึ้น ทาให้สมาธิตั้งมั่นขึ้น สติแก่กล้าขึ้น ปัญญาแก่กล้า หรือ เฉียบแหลมขึ้น
ตรงสติ สมาธิ ปัญญา แก่กล้า เฉียบแหลมขึ้น เราจะรู้อะไร ไม่ใช่รู้แค่อาการพระไตรลักษณ์ ความ มหศั จรรยข์ องธรรมะ กค็ อื วา่ การทเี่ หน็ สจั ธรรมภายใน เหน็ รปู นามเปน็ อารมณป์ รมตั ถ์ เหน็ รปู นามภายใน เกดิ ดบั แลว้ พอละ พอคลายความเปน็ ตวั ตน ละการยดึ เอารปู นามขนั ธ์ ๕ วา่ เปน็ เราปบ๊ึ นนี่ ะ พอรบั รอู้ ารมณ์ ภายนอก รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อารมณ์ภายนอก จิตจะวางโดยอัตโนมัติ มันจะแยกส่วนโดยอัตโนมัติ โดยปริยาย เหมือนเราไม่รู้แต่ไม่ยึด รู้ก็ไม่ยึด มันจะเป็นอาการรับรู้ที่แยกส่วนกัน คือจิตเขาปล่อยวางโดย ปริยาย
จริง ๆ แล้วเหมือนไม่รู้ แต่รู้ สังเกตไหมเหมือนไม่รู้แต่รู้ ทาไมถึงรู้ รู้ว่ามันไม่เที่ยง รู้ว่ามันยึดไม่ได้ รู้ว่าไม่ใช่ของเรา รู้ว่าทุกอย่างเป็นไปตามเหตุปัจจัย รู้นี่นะ รู้อะไร นี่คือหลัก นี่คือแก่น พอเขารู้อย่างนี้ พอ กระทบปึ๊บ ช่างเหอะ! ไม่เป็นไร พอมีผัสสะขึ้นมา เจออารมณ์ที่ไม่พึงปรารถนา อ้อ!ไม่เป็นไร เดี๋ยวก็หาย เดี๋ยวก็ดับ ไม่ใช่ของเรา รูปนี้ไม่ใช่ของเรา กลายเป็นการทาให้เราปล่อยวางโดยปริยาย นี่คือความอัศจรรย์ ไม่ต้องบอก ฉันจะไม่ชอบเรื่องนี้ ไปชอบเรื่องโน้น เพราะในชีวิตของเรา มีหลายเรื่องเข้ามาในชีวิต แต่การที่ เขา้ ใจถงึ กฎไตรลกั ษณต์ รงนี้ ทา ใหจ้ ติ คลายละวางไปในตวั นคี่ อื การพฒั นาจติ พฒั นาปญั ญาของเรา พฒั นา ทั้งจิต สติ สมาธิ ปัญญายิ่งแก่กล้าขึ้น ยิ่งแก่กล้าขึ้น ยิ่งเห็นชัดมากขึ้น
การยิ่งดูจิตตัวเองบ่อย ๆ ชัด ๆ ดูจิตในจิต ดูจิตในจิต จิตยิ่งแก่กล้ายิ่งตั้งมั่น ยิ่งสงบ สังเกตต่อไป ก็เป็นตัวที่ ๒ ก็คือว่า ขณะที่เราเจริญสติตรงนี้ ทาให้จิตเรามีความสงบขึ้น มีความตั้งมั่น มีความผ่องใส มีความว่างมากขึ้น ตัวต่อไป...คือความคิด ความคิดที่เกิดขึ้นในชีวิตของเรา ลองดูสิ เมื่อกี้นี้ที่บอกว่า พอกลบั ไปรบั รคู้ วามคดิ ปบ๊ึ จติ ตรงนี้ จติ ทพี่ ฒั นาทที่ า ใหส้ ติ สมาธิ ปญั ญาแกก่ ลา้ ขนึ้ แลว้ นนี่ ะ การรบั รเู้ รอื่ ง ที่ต้องคิดนี่นะ ต่างจากเดิมอย่างไร ความคิดที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อจิตเรา ต่างจากเดิมอย่างไร
และถ้าจิตมีความผ่องใส มีความว่าง ไม่มีตัวตนและมีความอิสระ การที่จะเข้าใจในเรื่องราวต่าง ๆ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ นนั้ เปน็ อยา่ งไร เขา้ ใจไดง้ า่ ยขนึ้ ไหม ตรงนตี้ อ้ งสงั เกต นคี่ อื การดจู ติ ในจติ อนั นอี้ ยา่ งหนงึ่ ...รู้ว่า แล้วมันจะสรุปได้ง่ายขึ้น ว่าสิ่งที่กาลังคิดอยู่เป็นสาระ...ไม่เป็นสาระ เขาย่อลงตรงนี้ปึ๊บ เรื่องกี่เรื่อง


































































































   93   94   95   96   97