Page 59 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 59

919
อะไรทเี่ ปลยี่ นแปลงขนึ้ มาอกี พอมคี วามเปลยี่ นแปลงขนึ้ มา แลว้ ไมเ่ ปน็ อยา่ งทปี่ รารถนากเ็ กดิ ทกุ ข์ เพราะเรา ไมเ่ ขา้ ใจถงึ ความเปลยี่ นแปลง ไมย่ อมรบั ถงึ ความไมเ่ ทยี่ ง ไมย่ อมรบั ถงึ การเปลยี่ นแปลง อนั นนั้ คอื อารมณ์ ภายนอก
แต่พระพุทธองค์ ทรงให้เราย้อนกลับมาอารมณ์ภายในเลย ตัวสาคัญอันเป็นที่ตั้งแห่งการยึดมั่น ที่ ทาให้คนเราหลงที่สุด ก็คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ สัญญาความจาได้ในเรื่องราวต่าง ๆ พิเศษ มากมายก็ตาม ที่ให้เราลุ่มหลงนี่นะ เรื่องอะไรก็ตามที่ทาให้เราหลงได้ นั่นก็คือสัญญาในเรื่องราวนั้น ๆ แต่ เพราะอาศัยสัญญา ระลึกแล้วก็จาได้ แล้วก็ติดกับสิ่งนั้นอยู่ ตัวสังขารขันธ์การปรุงแต่ง สังขารขันธ์การปรุง แต่งอย่างไร ที่ทาให้เราทาให้คนเราต้องเกาะติด แล้วทาให้เราติดอยู่กับเรื่องนั้น ๆ สิ่งนั้น ๆ จนไม่สามารถ สลัดได้ วางได้ แล้วก็ทาให้เป็นทุกข์
อันนี้ก็แล้วแต่เรื่อง แล้วทาบริบทของแต่ละบุคคลไป แต่ตัวสัจธรรม คือการเห็นชัดถึงว่า แม้ตัว สัญญาขันธ์ ตัวสังขารขันธ์ ที่เกิดขึ้น กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็นคนละส่วนกัน...แล้วทาไมพระพุทธเจ้าถึงตรัส เรารู้สึกพิเศษอย่างไรก็ตาม ดีอย่างไรก็ตาม อารมณ์นั้นก็เป็นของไม่เที่ยง เดี๋ยวก็เปลี่ยน ถึงเวลาก็เปลี่ยน ไม่เปลี่ยนแต่นิดเดี๋ยวก็เปลี่ยน บางทีเราเปลี่ยน เขาเปลี่ยนได้ด้วยปัญญาของเรา เปลี่ยนได้ด้วยสติสมาธิ ปัญญา ที่สามารถเปลี่ยนได้ แต่บางอย่างอาศัยเวลาที่เขาเปลี่ยนไป
แต่สิ่งหนึ่ง ที่เราสามารถเปลี่ยนได้เลย คือเปลี่ยนจากจิตที่เป็นทุกข์ ให้เป็นความสงบ หรือเป็น ความเบา ทาให้ความทุกข์นั้นลดลงได้เลย ปัญญาตรงนี้เป็นส่วนสาคัญ การกาหนดรู้ถึงความเป็นคนละ ส่วน แล้วก็เห็นการเกิดดับเป็นขณะไป เป็นขณะ เป็นขณะ รู้อาการเกิดดับไป จิตจะคลายอุปาทาน จิต จะเบาขึ้น เพราะฉะนั้นเราจะเห็นว่า เวลาอารมณ์เกิดขึ้นมา มีผัสสะ สังเกตไหมว่า พอมีอารมณ์เกิดขึ้นมา กระทบปุ๊บ สติเข้าไปกาหนดรู้ พอดับปุ๊บจิตสงบ ดับแล้วสงบ ดับแล้วเบา ดับแล้วโล่ง ไม่ปรุงแต่งต่อไป เป็นอย่างไร
มีเวทนา แต่ตัณหาไม่เกิด เพราะเขาดับ เห็นการดับ การสืบต่อของอารมณ์ ที่จะเป็นเศษ เป็นเชื้อ ให้ปรุงแต่งต่อ มันลดลง แม้ชั่วขณะหนึ่ง ๆ ทุกครั้งที่เขาหยุดที่เขาดับไป จิตก็สบาย สงบ มีความสุขชั่ว ขณะหนึ่ง ๆ ขณะไหนที่ดับได้ ก็มีความสุข เพราะเขายังไม่ได้ดับอย่างสิ้นเชิง ไม่ได้ดับเป็นสมุจเฉท แต่ เกลี้ยงเป็นสิ้นเชิง แต่อย่างน้อย เขาก็มีช่องว่างให้เราได้พัก เมื่อไหร่ที่เราสนใจการดับ ตรงนี้แหละเป็นการ ตัด เป็นการตัดวงจรที่เราจะตัดกาลังของอารมณ์ ที่จะปรุงแต่งส่งต่อปรุงแต่งให้เป็นกิเลส เป็นอกุศลเป็น กรรมต่อไป เป็นวัฏฏะหมุนเวียนไป
เพราะฉะนั้นที่เราปฏิบัติ กลับมาสู่ปัจจุบันนะ ที่เราปฏิบัติอยู่ตรงนี้ การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิต ให้ว่าง ให้แยกรูปนาม ทาจิตให้ว่างไม่มีตัวตน ที่เราปฏิบัติไม่มีตัวเราเลย มีแต่จิตที่ว่าง ๆ มีแต่จิตที่ว่าง ๆ ทาหน้าที่รับรู้เสียงที่ได้ยิน การเคลื่อนไหวที่เกิดข้ึน อาการเต้นของหัวใจที่ปรากฏขึ้นมา แล้วการเดิน ที่มีอาการดับวุบหาย วุบหาย รู้อาการเกิดดับตรงนี้ไป นี่แหละคือวิธีที่จะตัด เป็นการที่จะตัดองค์ของ ปฎิจจสมุปบาท ความต่อเนื่อง


































































































   57   58   59   60   61