Page 85 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 85

945
ดับไปเป็นเรื่องธรรมดา ไม่มีอะไรตั้งอยู่อย่างนั้น เพราะฉะนั้น พระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่า สังขารทั้งหลาย ทั้งปวงไม่เที่ยงสังขารทั้งหลายทั้งปวงเปน็ทุกข์ธรรมทั้งหลายทั้งปวงเป็นอนัตตา
คา วา่ “ทงั้ หลายทงั้ ปวง” ไมใ่ ชเ่ ฉพาะของเรา ไมใ่ ชเ่ ฉพาะรปู นามทกี่ า ลงั นงั่ อยขู่ ณะนเี้ ดยี๋ วนี้ หรอื ไมใ่ ช่ เฉพาะของคนอนื่ แตห่ มายถงึ ทกุ อยา่ งทเี่ กดิ ขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ โลกนหี้ รอื โลกไหน กต็ งั้ อยใู่ นกฎของไตรลกั ษณ์ คือการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น สิ่งที่จะปรากฏเกิดขึ้นมาให้เราได้ตามกาหนดรู้ถึงอาการ พระไตรลักษณ์ ทาให้เราได้ศึกษาธรรมะที่พระองค์ทรงตรัสไว้ที่เป็นไปเพื่อความดับทุกข์ ก็คือสภาวธรรม ที่กาลังปรากฏ ณ ขณะนี้ คืออาการทางกาย ไม่ว่าจะเป็นอาการเคร่งตึงลมหายใจเข้าออก อาการกระเพื่อม ไหวตามร่างกาย ความเย็น ความร้อน ความหนัก ความเบา ที่เกิดขึ้นตามร่างกายอย่างหนึ่ง
อกี อยา่ งหนงึ่ อยา่ งทบี่ อกวา่ เปน็ ความปวด อาการเมอื่ ย อาการชา อาการคนั ทเี่ รยี กวา่ เวทนา ตรงนี้ แหละที่จะสลับมาให้เรารู้ และอีกอย่างหนึ่งอย่างที่บอกเมื่อกี้ก็คือความคิด ความคิดเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิด ขึ้นมา ทั้งที่ผ่านมาแล้วและคิดปรุงแต่งถึงเรื่องราวของอนาคต นั่นก็เป็นความคิดอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นมา แต่ ความคิดนี้ก็ไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลง เราพิจารณาตรงนี้ด้วยเหตุปัจจัย เราเจริญกรรมฐานหรือนั่งสมาธิ ปฏิบัติธรรม ถ้าเป้าหมายเพื่อการดับทุกข์หรือการออกจากทุกข์จริง ๆ อย่างสิ้นเชิง ไม่ว่าจะเป็นความคิด ประเภทไหนอย่างไรก็ตาม หน้าที่ของผู้ปฏิบัติคือเข้าไปกาหนดรู้ว่าความคิดนั้นเกิดดับในลักษณะอย่างไร เข้าไปกาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของความคิด
อันนี้พูดในกรณีที่เราปฏิบัติธรรมและมีเป้าหมายเพื่อการดับทุกข์ ก็ต้องเรียนรู้ความจริง ศึกษา ความจรงิ ถงึ กฎไตรลกั ษณ์ เพราะทกุ อยา่ งในโลกตงั้ อยใู่ นกฎของไตรลกั ษณ์ ไมว่ า่ สงิ่ นนั้ จะเปน็ ของละเอยี ด หรือของหยาบอย่างไรก็ตาม ก็ตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์เสมอ และใครก็ตามที่เห็นถึงธรรมชาติเห็นถึง กฎไตรลักษณ์แบบนี้ จะทาให้จิตเกิดการคลาย คลายความยินดี คลายอุปาทาน คลายการเข้าไปยึดเกาะ หรือยึดติดกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น ที่สุดแล้วก็คือการคลายอุปาทานอย่างสิ้นเชิง คือการดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง แม้ที่สุดแล้วเพื่อความอิสระของจิตที่ไม่ถูกครอบงาด้วยโลภะโทสะโมหะ ไม่ถูกครอบงาด้วยอวิชชาต่าง ๆ นั่นเอง
ซึ่งเป็นสิ่งมหัศจรรย์ว่า การที่เรากาหนดรู้อาการเกิดดับของรูปนามขันธ์ห้าตามกฎของไตรลักษณ์ จะทาให้เราคลายอุปาทาน ไม่ไหลตามอารมณ์ของโลกที่จะพาให้เราเป็นทุกข์ และทาให้มีสติปัญญาเกิดขึ้น มา เพราะเห็นทุกข์เห็นโทษของการเวียนว่ายตายเกิด เห็นถึงความเป็นของไม่เที่ยง บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มี แก่นสาร ไม่มีสาระ ปัญญาตรงนี้แหละที่ทาให้เราอิสระได้ เป็นความมหัศจรรย์ที่กาหนดรู้แค่อาการเกิดดับ ของรูปนามอย่างเดียว พัฒนาไปเรื่อย ๆ กลับทาให้จิตเราตัดอารมณ์ต่าง ๆ ทาให้ความทุกข์ต่าง ๆ ในชีวิต ของเราให้หายไปได้ นี่คือความมหัศจรรย์ของธรรมะ ถึงแม้บางครั้งอาจจะไม่เข้าใจเท่าไหร่แต่ความทุกข์ก็ ดับไปได้
เพราะฉะนั้น การปฏิบัติธรรมการศึกษาธรรมะคาสอนของพระพุทธเจ้านั้นจึงเป็นสิ่งสาคัญ มีแต่ พระองค์ที่ทรงชี้ถึงแนวทางการดับทุกข์อันนี้ ในชีวิตของเรา...เราประสบกับความสุขบ้างทุกข์บ้างที่สลับกัน


































































































   83   84   85   86   87