Page 145 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 145

121
มันยิ่งเหนียว ยิ่งติดแน่น ให้ระวัง เห็นหมูมาเป็นครูสอนตัวเอง อะไรก็ตามที่เกิดขึ้น บางเรื่องที่เราคิด แล้วมันสะสม.. สะสม.. ก็ต้อง ค่อย ๆ สลัดออกไป เมื่อเรารู้แล้ว เรามาล้าง การปฏิบัติธรรมจึงมีเจตนาที่ จะขัดเกลาตนเอง ล้างตัวเอง เหมือนเราซักผ้าให้สะอาดไปเรื่อย ๆ จะมีฝุ่น ไม่มีฝุ่น ก็ต้องดูทุกวัน เหมือนเราซักผ้า.. บางครั้งใช้ครั้งหนึ่งก็ต้องซัก ชุด หนึ่งใช้ทีเดียว ไม่ใช้ซ้าถ้าไม่จาเป็น แต่ถ้าจาเป็นเราก็ต้องใช้นะ สมัยก่อน อาจารย์ใช้เจ็ดวันซักครั้งหนึ่ง ซักแบบไม่มีแฟ้บด้วย ซักน้าคลองก็ซัก ก็ยัง อยู่ได้นะ ถือว่าได้ซักแล้ว ถึงแม้จะมีกลิ่นน้าคลองมั่ง.. ไม่เป็นไร ดีที่ไล่ยุง
ป้องกันยุง ยุงมันไม่มาตอม เพราะไม่มีกลิ่นไขมันคน
เพราะฉะนั้น ถ้าเราพิจารณาตรงนี้ เราจะรู้ว่า ไม่ใช่แค่รู้ถึงอาการเกิด
ดับที่เกิดขึ้น เพราะอาการเกิดดับเป็นแก่นของสภาวธรรม เป็นทางลัดที่ไปสู่ มรรคผลนิพพาน แต่เมื่อเรามุ่งไปสู่มรรคผลนิพพาน เราก็ต้องรู้ว่า สิ่งที่ต้อง ระวงั ควบคไู่ ปดว้ ย ทตี่ อ้ งสา รวม ตอ้ งดแู ลควบคกู่ นั ไป ทา ความเขา้ ใจ อาจารย์ จึงเปรียบเทียบเหมือนกับต้นไม้ ธรรมะของเรามีแก่น เป็นแก่นธรรมโดยตรง เพราะอะไร ?
ตรงที่พิสูจน์ก็คือ ทุกครั้งที่เรารู้อาการเกิดดับ จิตเราจะยิ่ง เบา โล่ง ใส สงบ มากขึ้น สงบเพราะอะไร ? จิตคลายจากอุปาทาน ตรงนี้เราต้องรู้ ไม่ใช่.. ไม่รู้เป็นอะไร มันก็ว่าง ๆ ว่าง ๆ ว่าง ๆ .. เขาเรียก “มีเหตุมีผล” รู้ว่า “ยิ่งดู” เรารู้ได้อย่างไร ? ในอารมณ์ที่หยาบ ๆ ที่เราพิจารณา เวลามี อารมณ์เข้ามากระทบทางตา กระทบทางหู ได้ยินแล้วรู้สึกว่าอึดอัด รู้สึกไม่ ดี พอเรามีสติเข้าไปกาหนดรู้ อาการอึดอัดนั้นหายไป ว่างไป โล่งไป นั่นคือ เราสามารถ “ดับ” ได้ ความทุกข์ที่เกิดขึ้น เราสามารถดับได้ เมื่อความทุกข์ ตรงนั้นดับไปแล้ว เรารู้สึกไหมว่า “ดี” อย่างไร ? หรือรู้แค่ว่าเขาดับไป ?
เวลาเรามีความหิว มีความกระหาย เมื่อได้น้าสักแก้วหนึ่ง เรารู้สึก อย่างไร ? และถ้าเราทาต่อเนื่อง กาหนดรู้ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ดีอย่างไร ?


































































































   143   144   145   146   147