Page 147 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 147

123
กลับไปเจออาจารย์ มาส่งอารมณ์... ครั้งก่อนที่อาจารย์ให้การบ้านเอาไว้ ให้ ทาแบบนี้แบบนี้ เขาทาแล้ว ผลมันมีอาการแบบนี้แบบนี้ สภาพจิตเป็น อย่างนี้ อาการเกิดดับก็เป็นอย่างนี้ เขาจาการบ้านได้ เก่ง! แล้วจาในจุดที่ สาคัญ เขาไปดูในเว็บไซต์ ทุกคนสภาวะพิสดารมากแล้ว ก็รู้สึกว่าแย่แล้ว เขาเป็นประถมอยู่เลย เพราะแต่ละคนเล่าสภาวะในเว็บไซต์ เห็นอาการอย่าง งั้นอย่างงี้ เขายังเป็นเด็ก ๆ อยู่เลย แล้วเขาบอก..พอปฏิบัติบางช่วงกาหนด ไม่ได้ ทาอะไรไม่ได้เลย มันว่างไปหมด ว่างอย่างเดียว...
อาการอะไรเกิดขึ้น ก็เล่าอย่างนั้น ความต่อเนื่องของสภาวะก็ เกิดขึ้น เขาบอกว่าเวลาเขาพิจารณาสภาวธรรม เขากาหนดอารมณ์ เขาจะ เปรียบเทียบว่า ครั้งก่อนเป็นยังไง ตอนนี้เป็นยังไง วันก่อนเป็นยังไง วันนี้ เป็นยังไง สภาพจิตเป็นอย่างไร อาการเกิดดับวันก่อนเป็นอย่างไร อาการ เกิดดับตอนนี้เป็นอย่างไร ตอนเดินจงกรมเมื่อวานอาการเกิดดับเขาเป็น ยังไง มาวันนี้เดินจงกรมอาการเกิดดับเป็นอย่างไร ต่างจากเดิมยังไง นี่คือ ความต่อเนื่องของอารมณ์ ของสภาวะ เราเปรียบเทียบได้
เรานั่งบัลลังก์ตอนเช้า เขาเกิดดับแบบนี้ พอบัลลังก์ตอนบ่าย อาการ เกิดดับเขาเปลี่ยนมาเป็นแบบนี้ ไม่เหมือนเดิมแล้ว แต่เปลี่ยนมาเป็น แบบนี้ ทบทวนอยู่เรื่อย ทบทวนแบบนี้ ตอนเช้าขณะที่เห็นอาการเกิดดับ แบบนี้ สภาพจิตเป็นอย่างนี้ ตอนช่วงบ่ายอาการเกิดดับเปลี่ยนมาเป็น แบบนี้ สภาพจิตเป็นแบบนี้ นี่คือหลักสาคัญเลย ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน และจะ เดินไปข้างหน้าอย่างเดียว
ไม่ใช่..ขณะนั่งแล้วอาการเกิดดับเป็นอย่างนี้ นี่เราจะจาสภาวะไม่ได้ กลายเป็นว่าเราเริ่มต้นใหม่ทุก ๆ ครั้ง ถ้าเราเปรียบเทียบอย่างนี้ เราจะมี เจตนา บัลลังก์แรกเป็นอย่างนี้ บัลลังก์ที่สอง.. ลองดูสิว่าเขาจะเปลี่ยนไป ยังไง ถึงแม้จะเริ่มต้นเหมือนกัน หมายถึงว่าเริ่มต้นเขาอาจจะเกิดดับแบบ ชา้ ๆ เหมอื นกนั เรมิ่ ตน้ กา หนดลมหายใจเหมอื นกนั แตก่ ารกา หนดลมหายใจ


































































































   145   146   147   148   149