Page 198 - ธรรมปฏิบัติ 2
P. 198

174
โยงเข้ามาใส่สภาวะที่เกิดขึ้น ไม่ใช่แค่ความเข้าใจที่เกิดขึ้น แต่ถ้าไปด้วยกัน ได้จะไม่ขัดแย้งกัน คือสภาวะที่เกิดขึ้น อย่างเช่น “จิตที่ว่าง” กับ “ที่เข้าใจ ถึงความไม่มีอะไรเป็นของเรา” เป็นอย่างไร ? การที่เห็น “ความไม่มีตัวตน” ดียังไง ? “สภาพจิต” เป็นอย่างไร ? การ “ปล่อยวางได้แล้ว” จิตจะเป็น อย่างไร ?
จะเป็นตัวบอกว่า ที่เราบอกว่า เราไม่ยึดไม่ถือ เราปล่อยวาง แต่จิต ยงั มนี า้ หนกั หรอื ยงั รสู้ กึ หนกั อยู่ ถามวา่ ปลอ่ ย “จรงิ ” หรอื เปลา่ ? อายอุ ารมณ์ ที่เกิดขึ้น เคยกระทบแล้วมีความรู้สึกขุ่นมัวเกิดขึ้น ตั้งอยู่นานแค่ไหน ? จาก ที่ตั้งอยู่ ๑ ชั่วโมง วันนี้เหลือประมาณ ๕ นาที แล้วเห็นชัดว่าความขุ่นมัวที่ เกิดขึ้น ไม่ใช่แค่ความรู้สึกไม่ชอบ ความไม่ชอบจะประกอบด้วยกิเลสหรือ มีตัวตน ตอนที่ “เราไม่ชอบ” กับ ที่ “เห็น” ว่าความขุ่นมัวเกิดขึ้นกับ ใจเรา ความขุ่นมัวกับจิตที่ทาหน้าที่รู้แยกส่วนกัน ความมีตัวตนอันไหน มากกว่ากัน ?
การที่เรารู้สึกไม่ชอบ กับ เห็นว่ามันขุ่นขึ้นมาแล้วเป็นผู้ดู ขณะที่ขุ่น ถามว่า “มีตัวตนไหม ?” มีแน่นอน เพียงแต่ว่า “ความมีตัวตนของเรา” ตอนที่ เห็นว่าเขาขุ่น ๆ กับ รู้สึกว่าไม่ชอบ อันไหนแนบแน่นกว่ากัน ? อันไหนความ เป็นตัวตนมีกาลังมากกว่ากัน ? อันนี้เราจะสังเกตได้ และอายุอารมณ์ตัวไหน สั้นกว่ากัน ? นี่คือการพิจารณาอย่างหนึ่ง ถ้าเราเห็นแค่ขุ่น ๆ แล้วเป็นผู้ดู ถ้ามาดูตัว “ผู้ดู” ปุ๊บนี่ อารมณ์นี้ก็จะหาย จะจบเร็ว แต่ถ้าไม่ชอบแล้วปรุง แต่ง ความปรุงแต่งนั้นจะเป็นตัวบัญญัติ ถ้าเห็นแค่ไม่ชอบ เราไม่เห็นความ ขุ่น ความขุ่นเกิดขึ้นกับใจแล้วแต่ไม่เห็น เพราะฉะนั้นความหยาบต่างกัน
แต่ถ้ารู้สึกว่าอารมณ์ที่เข้ามากระทบไม่ดี รู้สึกไม่ดีไม่เกี่ยวกับไม่ ชอบนะ แต่เป็นเหตุใกล้ เป็นอารมณ์ที่เกิดขึ้นใกล้ ๆ กับความไม่ชอบ เพราะอะไร ? ที่เราปฏิบัตินี่เป็นไปเพื่อความดี เป็นไปเพื่อความเป็นกุศล เมื่อ อกุศลเกิดขึ้น แน่นอน! จะรู้สึกไม่ดีกับอกุศล แต่ไม่เกี่ยวกับชอบหรือไม่


































































































   196   197   198   199   200